Number of spots : 5spots

  • The 1st Floor (Annex) The 1st Floor (Annex) 1st floor

    show stroly map Show Stroly map

    Click the thumbnail to open the map in a new tab.      The 1st Floor (Annex)

  • Information Information 6: Annex, 2F Great HallBeam String Structure

    show stroly map Show Stroly map

    日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย  柱のない180畳の大空間を実現しているのが、「張弦梁(ちょうげんばり)」という工法です。長い床梁の両側に太い鉄筋をそわせ、床の荷重によって下に湾曲しようとする力に対し、鉄筋が引っ張り合う力で抵抗し、梁を支えています。明治時代の建物としては極めて珍しい工法で、高い専門知識と技術を持った設計者と大工によって建てられたことが伺えます。臨江閣に隣接する「グリーンドーム前橋」も張弦梁が採用されています。 6: Annex, 2F Great HallBeam String Structure This over 270-square-meter space with no pillars uses a construction method called “chogen-bari,” or beam string structure. This technique utilizes long bending floor beams supported by thick reinforcing steel bars against the force of the floor’s curve, and was a rarity in Meiji-era Japan. We can see that it took a designer and carpenter with specialized knowledge and skills to build this wonderful hall. “Green Dome Maebashi,” which is located next to Rinkokaku, also utilizes the chogen-bari technique. (6)別館2樓大廳 張弦梁 實現了無柱180畳的大空間工法被稱為“張弦梁“。這種方法是在長長的床梁兩側加上粗大的鋼筋,通過地板的重量產生的向下彎曲力,鋼筋通過拉力相互抵抗,從而支撐梁。這是在明治時代非常罕見的建築工法,需要高度專業知識和科技的設計師和工匠來構建。臨江閣相鄰的“綠色穹頂前橋” 也採用了張弦梁的結構。 (6)别馆2楼大厅 张弦梁 实现了无柱180畳的大空间工法被称为“张弦梁“。这种方法是在长长的床梁两侧加上粗大的钢筋,通过地板的重量产生的向下弯曲力,钢筋通过拉力相互抵抗,从而支撑梁。这是在明治时代非常罕见的建筑工法,需要高度专业知识和技术的设计师和工匠来构建。临江阁相邻的“绿色穹顶前桥”也采用了张弦梁的结构。 (6) 별관 2층 대청마루 아치보  기둥이 없는 180첩의 큰 공간을 실현한 것이 바로 '아치보'라는 공법입니다. 긴 바닥들보 양쪽에 굵은 철근을 맞추어, 바닥 하중에 의해 아래로 굽히려는 힘에 대해 철근이 서로 당기는 힘으로 저항하여 들보를 지탱하고 있습니다. 메이지 시대의 건물로는 극히 드문 공법으로 높은 전문지식과 기술을 가진 설계자와 목수에 의해 지어졌음을 알 수 있습니다. 린코카쿠에 인접한 '그린돔 마에바시'도 아치보 방식을 채용하고 있습니다. (6) คานโค้ง ห้องโถงใหญ่ ชั้น 2 อาคารเสริม  มีการประยุกต์ใช้ “คานโค้ง” เพื่อสร้างพื้นที่ขนาดประมาณ 300 ตร.ม. โดยไม่มีเสาค้ำตรงกลาง เป็นการอาศัยการเสริมเหล็กเส้นหนาที่สองฝั่งของคานยาวให้แรงดึงของเหล็กเส้นมาต้านแรงที่น้ำหนักของพื้นจะกดให้โค้งงอไปด้านล่าง ซึ่งเป็นเทคนิคที่หายากมากในอาคารยุคเมจิ แสดงให้เห็นว่าถูกสร้างขึ้นโดยนักออกแบบและช่างที่มีเทคนิคและความรู้เฉพาะทางขั้นสูง ที่ “กรีนโดมมาเอบาชิ” ซึ่งอยู่ติดกับรินโกกากุก็ใช้คานโค้งเหมือนกัน

  • Information Information 5: Landscapes Featuring the Famous Mountains of Gunma(Annex, 2F Great Hall “Mt. Akagi Landscape” and “Mt. Myogi Landscape”)

    show stroly map Show Stroly map

    日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย  別館2階大広間の床の間に飾られているのは、群馬を代表する上毛三山のうち「赤城山」と「妙義山」の山水図です。作者である小室翠雲(こむろ・すいうん/1874年〜1945年)は、栃木県竪林町(現群馬県館林市)生まれ。群馬美術協会の初代会長を務めるなど群馬県を代表する日本画家です。南画(中国の南宋画の要素を取り入れて日本独自に発達した絵画)の普及・振興に力を尽くし、日本美術展覧会でも受賞を重ねるなど、近代南画の大家として知られています。  「赤城山水図」「妙義山水図」は2幅で1組になっている掛け物で、桜が咲く春の穏やかな赤城山と、紅葉に彩られた荒々しい妙義山の岩峰が描かれています。季節や構図、描写の対比に注目して鑑賞すると面白いでしょう。  赤城山水図には「庚戌首秋」、妙義山水図には「冩於 臨江閣」と小室翠雲の署名があり、臨江閣別館が建てられた1910(明治43)年に臨江閣のために描かれたことが分かります。「一府十四県連合共進会」の記念写真帖にも、床の間に掛けられた本作品が写っています。(掛けられている絵は展示用の複製品です) 5: Landscapes Featuring the Famous Mountains of Gunma(Annex, 2F Great Hall “Mt. Akagi Landscape” and “Mt. Myogi Landscape”) The second-floor annex’s toko-no-ma alcove displays landscape paintings of Mt. Akagi and Mt. Myogi, two of Gunma’s “Three Jomo Peaks.” Komuro Suiun (1874-1945), who painted them, was born in Tatebayashi Town in Tochigi Prefecture (now Tatebayashi, Gunma Prefecture). He served in many prominent positions, including as first head of the Gunma Art Association, and is one of Gunma’s premier artists. His efforts helped the Nanga school of art (a Japanese style derived from the “Southern School” of Chinese painting) to spread and flourish. He also won many awards at Japanese art exhibitions and is well known as an important artist of the modern Nanga School. “Mt. Akagi Landscape” and “Mt. Myogi Landscape” were made as a set of two paintings showing contrasting images: the gentle slopes of Akagi in spring as the cherry trees are blossoming, and the steep climb of Myogi in autumn as the leaves are changing color. Visitors can enjoy the contrast of seasons, compositions, and expression between these two paintings. From the inscriptions on each painting bearing Komuro Suiun’s signature, we know that they were made in 1910 (Meiji 43) when the Rinkokaku annex was built. You can see these paintings hanging in the toko-no-ma alcove in photos from the “15-Prefecture Combined Exhibition” commemorative album. (These were copies produced for display purposes.) (5)描繪了群馬的名山的山水圖(別館2樓大廳“赤城山水圖”“妙義山水圖”) 在別館2樓大廳展示的床之間中所展示的是,代表群馬的上毛三山之一,“赤城山”和“妙義山”的美妙的山水圖。 作者-小室翠雲(1874年~1945年)是櫪木縣豎林町(現在的群馬縣館林市)出身的畫家。 他曾任群馬美術協會的第一任會長,被認為是代表群馬縣的日本畫家。 他致力於推動和促進南畫(吸收了中國南宋畫的元素,並在日本獨自發展的繪畫形式)的普及,並在日本美術展覽會上屢次獲獎,囙此被認為是近代南畫的大師。“赤城山水圖”和“妙義山水圖”是由兩幅畫組成一組的掛件。 描繪了春天櫻花盛開時寧靜的赤城山和被紅葉點綴時峻峭的妙義山的岩峰。 欣賞時關注一下季節、構圖和描繪的對比,將會非常有趣。在“赤城山水圖”上有“庚戌首秋”, 而在“妙義山水圖”上有“冩於臨江閣“,二者皆為小室翠雲的簽名。據瞭解,這是在1910年(明治43年)為臨江閣別館繪製的。這幅畫也出現在「一府十四県連合共進會」的紀念照片册中,照片中顯示這幅作品被懸掛在床之間之上(懸掛的畫是展示用的複製品)。 (5)描绘了群马的名山的山水图(别馆2楼大厅 “赤城山水图” “妙义山水图”) 在别馆2楼大厅展示的床之间中所展示的是,代表群马的上毛三山之一,“赤城山”和“妙义山”的美妙的山水图。作者-小室翠云(1874年~1945年)是枥木县竖林町(现在的群马县馆林市)出身的画家。他曾任群马美术协会的第一任会长,被认为是代表群马县的日本画家。他致力于推动和促进南画(吸收了中国南宋画的元素,并在日本独自发展的绘画形式)的普及,并在日本美术展览会上屡次获奖,因此被认为是近代南画的大师。 “赤城山水图”和“妙义山水图”是由两幅画组成一组的挂件。描绘了春天樱花盛开时宁静的赤城山和被红叶点缀时峻峭的妙义山的岩峰。欣赏时关注一下季节、构图和描绘的对比,将会非常有趣。 在“赤城山水图”上有“庚戌首秋”,而在“妙义山水图”上有“冩于 临江阁“,二者皆为小室翠云的签名。据了解,这是在1910年(明治43年)为临江阁别馆绘制的。这幅画也出现在「一府十四県连合共进会」的纪念照片册中,照片中显示这幅作品被悬挂在床之间之上(悬挂的画是展示用的复制品)。 (5) 군마의 명산을 그린 산수도(별관 2층 대청마루 ‘아카기 산수도’ ‘묘기 산수도’)  별관 2층 대청마루의 도코마에 장식되어 있는 것은 군마를 대표하는 죠모삼잔 중 '아카기 산'과 '묘기 산'의 산수도입니다. 작가인 코무로 스이운(1874년~1945년)은 도치기현 다테바야시정(현 군마현 다테바야시시)에서 태어났다. 군마 미술 협회의 초대 회장을 맡는 등 군마 현을 대표하는 일본 화가입니다. 남화(중국의 남송화 요소를 도입해 일본 독자적으로 발달한 회화)의 보급·진흥에 힘써 일본미술전람회에서도 수상을 거듭하는 등 근대 남화의 대가로 알려져 있습니다. ‘아카기 산수도’, ‘묘기 산수도’는 두 폭으로 한 쌍을 이룬 걸이로, 벚꽃이 피는 봄의 잔잔한 아카기 산과 단풍으로 물든 거친 묘기 산의 암봉이 그려져 있습니다. 계절이나 구도, 묘사의 대비에 주목해서 감상하면 재미있을 것입니다. 아카기 산수도에는 ‘경술수추’ , 묘기 산수도에는 ‘어어 린코카쿠’와 코무로 스이운의 서명이 있어 린코카쿠 별관이 세워진 1910(메이지 43)년 린코카쿠를 위해 그려졌음을 알 수 있습니다. ‘1부14현 연합공진회’의 기념 사진첩에도, 도코노마에 걸린 본 작품이 찍혀 있습니다. (걸려 있는 그림은 전시용 복제품입니다.) (5) ภาพวาดธรรมชาติของภูเขาชื่อดังของกุนมะ (“ภาพภูเขาอากากิยามะ” “ภาพภูเขาเมียวกิซัง” ห้องโถงใหญ่ ชั้น 2 อาคารเสริม)  ที่พื้นที่วางของประดับ (โทโกโนะมะ) ของห้องโถงใหญ่ที่ชั้น 2 ของอาคารเสริมมีภาพวาดธรรมชาติของ “ภูเขาอากากิยามะ” และ “ภูเขาเมียวกิซัง” ซึ่งเป็นสองในสามภูเขาชั้นนำของกุนมะ ผู้วาดคือ ซูอิอุน โคมูโระ (1874 - 1945) เกิดที่ทาเตบายาชิมาจิ จังหวัดโทชิกิ (ปัจจุบันเป็นเมืองทาเตบายาชิ จังหวัดกุนมะ) เป็นจิตรกรภาพญี่ปุ่นชั้นนำของจังหวัดกุนมะและยังเป็นประธานรุ่นแรกของสมาคมศิลปะกุนมะ ฯลฯ ด้วย อีกทั้งเป็นที่รู้จักในฐานะจิตรกรภาพนังกะ (ภาพวาดที่นำองค์ประกอบของภาพนันชูกะของจีนมาพัฒนาในแบบเฉพาะของญี่ปุ่น) สมัยใหม่ที่ทุ่มเทเพื่อการส่งเสริมและทำให้ภาพนังกะเป็นที่แพร่หลาย และได้รับรางวัลในนิทรรศการศิลปะญี่ปุ่นอีกจำนวนมากด้วย “ภาพภูเขาอากากิยามะ” และ “ภาพภูเขาเมียวกิซัง” เป็นภาพแขวนสองชิ้นในชุดเดียวกัน ซึ่งเป็นภาพของภูเขาอากากิยามะอันเงียบสงบในฤดูใบไม้ผลิที่มีซากุระบาน กับภาพแนวเขาของภูเขาเมียวกิซังที่มีส่วนสูงต่ำเห็นได้ชัดประดับด้วยใบไม้เปลี่ยนสี การมาชมโครงสร้างและฤดูกาลจริงเทียบกับในภาพวาดก็สนุกเหมือนกัน ในภาพภูเขาอากากิยามะมีเขียนว่า “ต้นใบไม้ผลิปีจอ” และภาพภูเขาเมียวกิซังมีเขียนว่า “วาดที่รินโกกากุ” กับลายเซ็นของ ซูอิอุน โคมูโระ ทำให้ทราบได้ว่าทั้งสองภาพนี้วาดที่รินโกกากุในปี 1910 ซึ่งเป็นปีที่สร้างอาคารเสริมของรินโกกากุ ที่อัลบั้มรูปอนุสรณ์งาน “นิทรรศการร่วม 15 จังหวัด” ก็มีถ่ายติดภาพผลงานนี้ที่แขวนอยู่ที่พื้นที่วางของประดับด้วย (ภาพที่แขวนอยู่เป็นภาพจำลองสำหรับจัดแสดง)

  • Information Information 4: A Bird’s-eye View of Maebashi, the “Town of Raw Silk”(Annex, 2F Great Hall Maebashi Bird’s-eye View)

    show stroly map Show Stroly map

    日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย  1934(昭和9)年、群馬・茨城・栃木・埼玉の4県合同で陸軍特別大演習が開催されるにあたり、観光案内用に作成された前橋の鳥瞰図です。  京都出身の有名な鳥瞰図絵師・吉田初三郎(よしだ・はつさぶろう)によって描かれました。生涯において3,000点にも上る鳥瞰図を作成した吉田初三郎は、綿密な取材に基づき、特徴的な施設をデフォルメしながらも観光要素をしっかりと盛り込むことに長けていました。中央にこの臨江閣、向かって右手に赤城山、左手に榛名山があり、その間を利根川が流れています。利根川沿いに建つ土塁(青色)で囲まれた建物が、1928(昭和3)年に建てられた群馬県庁(現在の昭和庁舎)です。敷島公園の水源地には1929(昭和4)年に完成したばかりの敷島浄水場の水道タンクも描かれており、取材力の高さが伺えます。  町のあちらこちらで煙突から煙が上がり、「交水社」「丸ト製糸工場」といった製糸工場の名前が明記されていることから、前橋が「生糸のまち」として栄えていたことがよく分かります。 4: A Bird’s-eye View of Maebashi, the “Town of Raw Silk”(Annex, 2F Great Hall Maebashi Bird’s-eye View) This bird’s-eye view painting of Maebashi was made in 1934 (Showa 9) to help guide visitor’s ahead of the 4-prefecture (Gunma, Ibaraki, Tochigi, and Saitama) special military drills. It was painted by the famous Kyoto-born bird’s-eye view artist Yoshida Hatsusaburo. Yoshida, who painted over 3,000 bird’s-eye view pieces in his lifetime, was incredibly skilled at creating detailed paintings that displayed sightseeing novelties based on in-depth research by artfully exaggerating a region’s most characteristic facilities and institutions. Rinkokaku can be seen in the center, with Mt. Akagi to the right and Mt. Haruna to the left, between which flows the Tone River. The building surrounded by an earthen wall (blue) next to the Tone River is the Gunma Prefectural Office which was built in 1928, or Showa 3 (now the Showa Chosha building). The Shikishima Water Purification water tank, which had just been built in 1929 (Showa 4), is also depicted in Shikishima Park. Such attention to detail is a testament to Yoshida’s research skills. The smoke rising from chimneys all over the city and the silk mill names (“Kousuisha,” “Maruto Silk Manufacturer,” etc.), clearly show us that Maebashi once prospered as a “town of raw silk.” (4)展現“蠶絲之城”前橋繁榮的鳥瞰圖(別館2樓大廳前橋鳥瞰圖) 1934年(昭和9年),為迎接群馬、茨城、栃木、埼玉四縣聯合舉辦的陸軍特別大演習,特地製作的前橋鳥瞰圖用於旅遊指南。這幅畫由京都的著名鳥瞰圖畫家-吉田初三郎繪製。 吉田初三郎一生創作了超過3000幅鳥瞰圖,以精細的調查為基礎,巧妙地將特色建築進行變形,同時充分融入觀光元素。 畫面中央是這座臨江閣,右側是赤城山,左側是榛名山,它們之間流淌著利根川。 沿著利根川建造的土堤(藍色)所包圍的建築是1928年(昭和3)年建成的群馬縣廳(現在的昭和庁舎)。 在敷島公園水源地中還描繪了1929年(昭和4)年剛剛竣工的敷島淨水場的水箱,顯示出高度的調查能力。畫面中城鎮的各處都可以看到煙霧從煙囪中升起,通過標注了諸如“交水社”和“丸ト制糸工廠”等絲綢工廠的名稱,可以明確瞭解到前橋作為“蠶絲之城”繁榮發展的歷史。 (4)展现“蚕丝之城”前桥繁荣的鸟瞰图(别馆2楼大厅 前桥鸟瞰图)  1934年(昭和9年),为迎接群马、茨城、栃木、埼玉四县联合举办的陆军特别大演习,特地制作的前桥鸟瞰图用于旅游指南。 这幅画由京都的著名鸟瞰图画家-吉田初三郎绘制。吉田初三郎一生创作了超过3,000幅鸟瞰图,以精细的调查为基础,巧妙地将特色建筑进行变形,同时充分融入观光元素。画面中央是这座临江阁,右侧是赤城山,左侧是榛名山,它们之间流淌着利根川。沿着利根川建造的土堤(蓝色)所包围的建筑是1928年(昭和3)年建成的群马县厅(现在的昭和庁舎)。在敷岛公园水源地中还描绘了1929年(昭和4)年刚刚竣工的敷岛净水场的水箱,显示出高度的调查能力。 画面中城镇的各处都可以看到烟雾从烟囱中升起,通过标注了诸如“交水社”和“丸ト製糸工場”等丝绸工厂的名称,可以明确了解到前桥作为“蚕丝之城”繁荣发展的历史。 (4)“생실의 마을” 마에바시의 번영을 나타내는 조감도(별관2층 대청마루 마에바시 조감도)  1934(쇼와 9) 년, 군마·이바라키·도치기·사이타마의 4 현 합동으로 육군 특별 대연습이 개최되는 것에 즈음해, 관광 안내용으로 작성된 마에바시의 조감도입니다. 교토 출신의 유명한 조감도 화가 요시다 하츠사부로에 의해 그려졌습니다. 생애에 있어서 3,000점이나 되는 조감도를 작성한 요시다 하츠사부로는, 면밀한 조사에 근거해, 특징적인 시설을 데포르메한 느낌을 주면서도 관광 요소를 확실히 포함시키는 것에 뛰어났습니다. 중앙에 이 린코카쿠를 향해 오른손에 아카기 산, 왼손에 하루나 산이 있고, 그 사이로 도네가와가 흐르고 있습니다. 도네가와에 걸쳐 세워진 토루(파란색)로 둘러싸인 건물이 1928(쇼와 3) 년에 지어진 군마 현청(현재의 쇼와 청사)입니다. 시키시마 공원의 수원지에는 1929(쇼와4)년에 막 완공된 시키시마 정수장의 수도 탱크도 그려져 있어 관찰력이 뛰어납니다. 마을 곳곳의 굴뚝에서 연기가 피어올라, '교수사', '마루토 제사공장'이라는 제사공장의 이름이 명기되어 있는 것으로 보아 마에바시가 '생실마을'로 번창했음을 잘 알 수 있습니다. (4) ภาพมุมสูงที่แสดงให้เห็นถึงความรุ่งเรืองของมาเอบาชิ “เมืองแห่งไหมดิบ” (ภาพมุมสูงของมาเอบาชิ ห้องโถงใหญ่ ชั้น 2 อาคารเสริม)  ภาพมุมสูงของมาเอบาชิที่จัดทำขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในการจัดการฝึกพิเศษครั้งใหญ่ของทหารบกร่วมกัน 4 จังหวัด ได้แก่ กุนมะ อิบารากิ โทจิกิ และไซตามะ ในปี 1934 วาดโดย ฮัตสึซาบูโร โยชิดะ จิตรกรภาพมุมสูงชื่อดังที่เกิดในเกียวโต ฮัตสึซาบูโรได้วาดภาพมุมสูงมาถึง 3,000 รายการตลอดชีวิตของเขา มีความเชี่ยวชาญในการดัดแปลงรูปร่างของสถานที่ต่าง ๆ อย่างมีเอกลักษณ์แต่ก็ใส่รายละเอียดขององค์ประกอบการท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี โดยอาศัยการเก็บข้อมูลอย่างละเอียด ในภาพจะมีรินโกกากุอยู่ตรงกลาง ฝั่งขวาเป็นภูเขาอากากิยามะ ฝั่งซ้ายเป็นภูเขาฮารูนาซัง โดยมีแม่น้ำโทเนะไหลผ่านระหว่างกลาง อาคารที่ล้อมด้วยคันดิน (สีฟ้า) ตามแนวแม่น้ำโทเนะคือที่ทำการจังหวัดกุนมะ (ปัจจุบันเป็นอาคารโชวะ) ที่สร้างขึ้นในปี 1928 มีรูปแทงค์น้ำประปาของศูนย์บำบัดน้ำชิกิชิมะที่เพิ่งสร้างเสร็จในปี 1929 ที่พื้นที่ต้นน้ำของสวนสาธารณะชิกิชิมะด้วย แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเก็บข้อมูลที่แท้จริง ที่ต่าง ๆ ในเมืองมีควันลอยขึ้นมาจากปล่องควันและมีระบุชื่อโรงงานทอไหม เช่น “โคซูอิชะ” “โรงงานทอไหมมารูโตะ” ฯลฯ ทำให้เห็นได้ว่ามาเอบาชิเจริญรุ่งเรืองในฐานะ “เมืองแห่งไหมดิบ” อย่างชัดเจน

  • Information Information 3: The Great Hall: A Place for People to Gather(Annex, 2F Great Hall)

    show stroly map Show Stroly map

    日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย  2階大広間は、180畳(現在は、畳敷150畳+板張30畳)の広さを誇り、天井高も高く開放感があります。柱には中山道の安中杉並木(現在、国天然記念物)から払い下げられた30本の杉の大木が使われており、格式が高い格天井(ごうてんじょう)、間口三間、奥行一間の床の間、両側に幅9尺、奥行3尺の脇床と付書院を備え、凝ったつくりの建具など贅を尽くした空間になっています。  「一府十四県連合共進会」の開催中は、たくさんの人が集まり、各種大会や晩餐会が開かれました。それまでに行われた共進会の中では最大規模で、当時の首相・桂太郎(かつら・たろう)をはじめ、大隈重信(おおくま・しげのぶ)や渋沢栄一(しぶさわ・えいいち)など多くの賓客が訪れました。共進会閉会後は前橋市の大公会堂として利用され、前橋出身の近代詩人・萩原朔太郎(はぎわら・さくたろう)など著名人の結婚披露宴も行われたといわれています。  現在、30畳の板の間となっている場所は、公民館として使われていた時代に舞台があった部分です。2016(平成28)年に耐震補強を含む大規模な改修工事を行い、創建当時の姿に戻すため、舞台は撤去されました。また、改修工事では、1台残っていた当時の豪華なシャンデリアを参考に5つのシャンデリアが復原され、当時の華やかな雰囲気を今に伝えています。 3: The Great Hall: A Place for People to Gather(Annex, 2F Great Hall) The second-floor Great Hall boasts an impressive space over 270 square meters (about 150 tatami mats, or 225 square meters, and a 45-square-meter wood floor) with high ceilings. The room is a luxurious space with lavish fittings, featuring pillars made of Japanese cedar from the Nakasendo Annaka Avenue of Cedars, a high coffered ceiling, and a 5-meter by 2-meter “toko-no-ma” alcove surrounded on either side by smaller alcoves measuring 3 meters by 1 meter. During the “15-Prefecture Combined Exhibition,” many people gathered here for various events and banquets. At the time, this was the largest convention that had ever been held, and big names such as Katsura Taro (the Prime Minister at that time), Okuma Shigenobu and Shibusawa Eiichi were among the attendees. After the combined exhibition, Maebashi City used the Great Hall as a town hall, and the wedding receptions of many notable people were held here, including Maebashi-born poet Hagiwara Sakutaro. A stage was built in the roughly 45-square-meter space with hardwood flooring that was once used as a community center. In 2016 (Heisei 28), when the building underwent large-scale renovations, includinganti-seismic reinforcement, the stage was removed to return the room to how it looked when first built. As part of these renovations, five chandeliers were recreated using a surviving piece from the time of Rinkokaku’s original construction as reference. These help to convey the festive atmosphere of that time to modern visitors. (3)眾多重要人物聚集的180畳大廳(別館2樓大廳) 2樓大廳擁有180畳(現鋪設150畳榻榻米+30畳地板)的寬敞空間,天花板的高度呈現出開闊的感覺。 支撐大廳的柱子採用了從中山道的安中杉並木(現為國家天然紀念物)轉贈而來的30跟杉木,配以高規格的格子天花板,三間寬的入口,一間深度的床之間,以及兩側各有寬9尺,深3尺的脅床和付書院。 整個空間設計精緻,採用了精雕細琢的建築構件,彰顯奢華。“一府十四縣聯合共進會”舉辦期間,賓客如雲,舉行了各種比賽和晚宴。 此次的共進會是以往最大規模的一次。 以當時的首相-桂太郎為首,大隈重信和澀澤榮一等多數賓客到此拜訪。 共進會閉幕後,被用於前橋市的大公會堂。 據說,前橋出身的近代詩人-萩原朔太郎等著名人士曾在此舉辦過婚禮。現在,擁有30畳的板之間的所在之處,正是被用於社區時,舞臺的部分。 2016(平成28)年,進行了耐震修補等大規模的改修工程,為了改回最初的樣子,舞臺被撤去。 並且,在改修工程中,參攷當時僅剩1臺的豪華吊燈,復原了5臺吊燈。 使當時的華麗的氛圍延續至今。 (3)众多重要人物聚集的180畳大厅(别馆2楼大厅) 2楼大厅拥有180畳(现铺设150畳榻榻米+30畳地板)的宽敞空间,天花板的高度呈现出开阔的感觉。支撑大厅的柱子采用了从中山道的安中杉并木(现为国家天然纪念物)转赠而来的30跟杉木,配以高规格的格子天花板,三间宽的入口,一间深度的床之间,以及两侧各有宽9尺,深3尺的胁床和付书院。整个空间设计精致,采用了精雕细琢的建筑构件,彰显奢华。 “一府十四县联合共进会”举办期间,宾客如云,举行了各种比赛和晚宴。此次的共进会是以往最大规模的一次。以当时的首相-桂太郎为首,大隈重信和涩泽荣一等多数宾客到此拜访。共进会闭幕后,被用于前桥市的大公会堂。据说,前桥出身的近代诗人-萩原朔太郎等著名人士曾在此举办过婚礼。 现在,拥有30畳的板之间的所在之处,正是被用于社区时,舞台的部分。2016(平成28)年,进行了耐震修补等大规模的改修工程,为了改回最初的样子,舞台被撤去。并且,在改修工程中,参考当时仅剩1台的豪华吊灯,复原了5台吊灯。使当时的华丽的氛围延续至今。 (3) 많은 요인들이 모인 180조의 대청마루(별관2층 대청마루)  2층 대청마루는 180조(현재는 다다미150조+ 판자 30조)의 넓이를 자랑하며 천장 높이도 높고 개방감이 있습니다. 기둥에는 나카센도의 안나카하라이치스기나미키(현재 국가 천연기념물)에서 불하된 30그루의 삼나무 대목이 사용되었으며 격식이 높은 격천장, 내림 3칸, 안 길이 한 칸의 도코노마, 양쪽에 폭 9척, 깊이 3척의 골방 옆의 공간과 부속 서원을 갖추어 공들여 만든 창호 등 군더더기를 갖춘 공간으로 구성되어 있습니다. ‘1부14현 연합공진회’의 개최 중에는, 많은 사람이 모여 각종 대회와 만찬회가 열렸습니다. 그때까지 열린 공진회 중에서는 최대 규모로, 당시 수상 카츠라 타로를 비롯해 오쿠마 시게노부와 시부사와 에이이치 등 많은 빈객이 방문했습니다. 공진회 폐회 후에는 마에바시시의 대공회당으로 이용되었으며 마에바시 출신 근대 시인 하기와라 사쿠타로 등 저명인사들의 결혼 피로연도 열렸다고 합니다. 현재 30조의 마루로 되어 있는 곳은 마을회관으로 사용됐던 시절 무대가 있었던 부분입니다. 2016년 내진 보강을 포함한 대규모 개수 공사를 실시하여 창건 당시의 모습으로 되돌리기 위해 무대는 철거되었습니다. 또한, 개수공사에서는 1대 남아있던 당시의 호화로운 샹들리에를 참고하여 5개의 샹들리에가 복원되어, 당시의 화려한 분위기를 그대로 보여주고 있습니다. (3) ห้องโถงใหญ่ขนาดประมาณ 300 ตร.ม. ที่ใช้รับรองบุคคลสำคัญจำนวนมาก (ห้องโถงใหญ่ ชั้น 2 อาคารเสริม)  ห้องโถงใหญ่ที่ชั้น 2 เป็นห้องที่ให้ความรู้สึกโล่งโปร่งด้วยเพดานสูงและมีขนาดประมาณ 300 ตร.ม. (ปัจจุบันเป็นพื้นเสื่อทาทามิประมาณ 250 ตร.ม. และพื้นไม้ประมาณ 50 ตร.ม.) เสาทำจากไม้สนขนาดใหญ่ 30 ต้นที่ตัดมาจากแนวต้นสนเมืองอันนากะของเส้นทางนากาเซ็นโด (ปัจจุบันเป็นอนุสรณ์ทางธรรมชาติของประเทศ) เพดานฝ้าแบบดูมีความเป็นทางการสูง โครงสร้างห้องแบ่งสามส่วนทางกว้าง ด้านในสุดของห้องมีพื้นที่วางของประดับ (โทโกโนะมะ) ที่มีช่องวางของประดับ (วากิโดโกะ) ขนาดประมาณ 1 x 3 เมตรกับมุมอ่านหนังสือ (สึเกโชอิน) อยู่สองฝั่ง เป็นพื้นที่ที่ให้ความรู้สึกหรูหราด้วยส่วนต่าง ๆ ของอาคารที่มีความซับซ้อน ระหว่างที่จัด “นิทรรศการร่วม 15 จังหวัด” มีผู้คนมาที่นี่เป็นจำนวนมากและมีการจัดการประชุมและงานเลี้ยงต่าง ๆ ด้วย ซึ่งครั้งดังกล่าวเป็นงานที่ใหญ่ที่สุดในนิทรรศการร่วมที่เคยจัดมา มีแขกสำคัญมาเป็นจำนวนมาก เช่น ทาโร คัตสึระ นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น ชิเกโนบุ โอกูมะ และเออิจิ ชิบูซาวะ หลังปิดงานนิทรรศการร่วมก็ได้นำมาใช้เป็นหอประชุมใหญ่ของเมืองมาเอบาชิและว่ากันว่าได้เคยใช้เป็นสถานที่จัดงานฉลองการแต่งงานของคนมีชื่อเสียง เช่น ซากูตาโร ฮากิวาระ กวีสมัยใหม่ที่เป็นคนเมืองมาเอบาชิด้วย โซนพื้นไม้ประมาณ 50 ตร.ม. ในปัจจุบันคือส่วนที่ใช้เคยเป็นเวทีในสมัยที่ใช้เป็นหอชุมชน ซึ่งได้มีการรื้อถอนเวทีออกเพื่อทำกลับไปให้เหมือนสภาพเมื่อสร้างใหม่ในการบูรณะครั้งใหญ่และเสริมความสามารถในการทนต่อแผ่นดินไหวในปี 2016 นอกจากนี้ในการบูรณะดังกล่าวยังได้สร้างโคมระย้าขึ้นใหม่ 5 อันโดยใช้โคมระย้าอันหรูหราในสมัยนั้นที่เหลืออยู่เพียง 1 อันเป็นต้นแบบ ซึ่งได้ให้บรรยากาศอันงดงามตระการตาแบบในยุคสมัยนั้นมาจนถึงปัจจุบัน