Number of spots : 3spots
-
The 1st Floor (Main Buliding) 1st floor
Click the thumbnail to open the map in a new tab. The 1st Floor (Main Buliding)
-
Information 14: The View That Enchanted Emperor Taisho(Main Building, 2F The View from Rinkokaku)
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 「臨江閣」という名称は、大河・利根川に面して建つことから付けられたものです。当時は建物のすぐ西側を利根川が流れていました。また遠く浅間山や妙義山を望むロケーションを生かし、本館、別館ともに南西側は広く開放され景色が綺麗に見えるように設計されています。 床の間の掛け軸は、1908(明治41)年に当時皇太子だった大正天皇が滞在された際に、臨江閣から見た景色を詠まれた漢詩を現代の書家が書いたものです。大正天皇は優れた漢詩人で、行幸啓先の光景を詠んだ詩など生涯で1,367首もの漢詩を創作されました。 登臨江閣 天晴気暖以春和 高閣倚欄吟興多 白雪皚皚浅間嶽 碧流滾滾利根河 臨江閣に登る 「空は晴れ、温かい小春日和の一日、臨江閣の欄干にもたれかかっていると、詩興が湧いてくる。白雪が白々と輝く浅間山と、緑色の水が滾々(こんこん)と流れる利根川の雄大な景色を眼下に見下ろしている。」と詠まれました。 (出典『大正天皇御製詩集(宮内庁蔵版)』1960(昭和35)年 明徳出版社刊。『大正天皇漢詩集(石川忠久編著)』 2014(平成26)年 大修館書店刊) 14: The View That Enchanted Emperor Taisho(Main Building, 2F The View from Rinkokaku) The name “Rinkokaku” literally means “palace overlooking the great river,” and refers to the fact that the building overlooks the great Tone River. When first built, the Tone River flowed right along the western side of Rinkokaku. The designers made good use of this location, from which you can also see Mt. Asama and Mt. Myogi in the distance, making for a splendid view from the spacious southwest sides of both the main building and the annex. The hanging scroll in the toko-no-ma was written by a modern calligrapher based on a Chinese poem composed in 1908 (Meiji 41) by the Crown Prince ( later Emperor Taisho) when he stayed at Rinkokaku. Emperor Taisho was a skilled composer of Chinese poems, and he wrote 1,367 such poems extolling the beautiful scenery at the innumerable sites of his imperial visits. Climbing Rinkokaku “Clear skies on a warm day in autumn, as I lean against the guard rail of Rinkokaku, I am struck with poetic inspiration. Before my very eyes I see a stunning view of pure white snow on Mt. Asama and the boisterous flow of Tone River’s blue water.” The Poem collection of Emperor Taisho (copyright, Imperial Household Agency collection edition), Meitoku Publishing, 1960 (Showa 35). Anthology of Chinese Poetry by Emperor Taisho (ed., Ishikawa Tadahisa), Taisukan Books, 2014 (Heisei 26). (14)迷住了大正天皇的臨江閣景觀(本館2樓臨江閣的景觀) “臨江閣”這個名稱是因為它建在大河・利根川畔而得名的。 當時,利根川正好流經建築的西側。 此外,充分利用了遠處的淺間山和妙義山的景色,本館和別館的南西側都被設計得很開闊,使風景能够清晰可見。掛在床之間的卷軸、是1908(明治41)年,當時的皇太子、後來的大正天皇在臨江閣逗留時,讚美從臨江閣眺望的風景的漢詩,由現代的書法家書寫而成。 大正天皇是一比特卓越的漢詩人,在他的一生中,包括描繪巡幸場面的詩歌等創作了1367首漢詩。登臨江閣天晴氣暖以春和 高閣倚欄吟興多白雪皚皚淺間嶽 碧流滾滾利根河登臨江閣這首詩表達了:“天氣晴朗,風和日麗,靠在臨江閣的欄杆旁,心中湧動著詩意。眼前是雪白熠熠的淺間山,以及利根川滾滾而過的壯麗景色,宛如俯瞰著一副大自然的畫卷”(引用來源:『大正天皇禦制詩集(宮內庁蔵版)』1960(昭和35)年,明徳出版社刊。 『大正天皇漢詩集(石川忠久編著)』2014(平成26)年,大修館書店刊) (14)迷住了大正天皇的临江阁景观(本馆2楼 临江阁的景观) “临江阁”这个名称是因为它建在大河・利根川畔而得名的。当时,利根川正好流经建筑的西侧。此外,充分利用了远处的浅间山和妙义山的景色,本馆和别馆的南西侧都被设计得很开阔,使风景能够清晰可见。 挂在床之间的卷轴、是1908(明治41)年,当时的皇太子、后来的大正天皇在临江阁逗留时,赞美从临江阁眺望的风景的汉诗,由现代的书法家书写而成。大正天皇是一位卓越的汉诗人,在他的一生中,包括描绘巡幸场面的诗歌等创作了1,367首汉诗。登临江阁天晴气暖以春和 高阁倚栏吟兴多白雪皑皑浅间岳 碧流滚滚利根河登临江阁这首诗表达了:“天气晴朗,风和日丽,靠在临江阁的栏杆旁,心中涌动着诗意。眼前是雪白熠熠的浅间山,以及利根川滚滚而过的壮丽景色,宛如俯瞰着一副大自然的画卷”(引用来源:『大正天皇御制诗集(宫内庁蔵版)』1960(昭和35)年,明徳出版社刊。『大正天皇汉诗集(石川忠久编着)』2014(平成26)年,大修馆书店刊) (14) 다이쇼 덴노를 매료시킨 린코카쿠에서의 조망(본관2층 린코카쿠의 조망) ‘린코카쿠’라는 명칭은 대하 도네가와에 면해 지어서 붙여진 이름입니다. 당시에는 건물 바로 서쪽을 도네가와기 흐르고 있었습니다. 또한, 멀리 아사마 산과 묘기 산을 원하는 위치를 살려 본관, 별관 모두 남서쪽은 넓게 개방되어 경치가 아름답게 보이도록 설계되어 있습니다. 도코마의 족자는 1908년 당시 황태자였던 다이쇼 덴노가 머물 때 린코카쿠에서 본 경치를 읊은 한시를 현대 서가가 쓴 것입니다. 다이쇼 덴노는 뛰어난 한시인으로 행차계선의 광경을 읊은 시 등 생애 1,367수나 되는 한시를 창작하셨습니다.登臨江閣 등림강각天晴気暖以春和 高閣倚欄吟興多 천청기난이춘화 고각의난음흥다白雪皚皚浅間嶽 碧流滾滾利根河 백설애애천간악 벽유곤곤리근하린코카쿠(림강각)에 오르다‘하늘은 맑고 포근한 봄 날씨의 하루 린코카쿠 난간에 기대고 있으면 시흥이 솟는다. 백설이 하얗게 빛나는 아사마 산과 녹색 물이 펄펄 흐르는 토네 강의 웅장한 경치를 내려다보고 있다.'고 읊었습니다.(출처 『다이쇼 덴노 어제 시집(궁내청 장판)』1960(쇼와 35) 년 메이토쿠 출판사간. 『다이쇼 덴노 한시집(이시카와 타다히사 편저)』2014(2014) 년 다이쇼칸 서점간) (14) วิวจากรินโกกากุที่จักรพรรดิไทโชทรงชื่นชอบ (วิวจากรินโกกากุ ชั้น 2 อาคารหลัก) ชื่อ “รินโกกากุ (คฤหาสน์ริมน้ำ)” มาจากการที่สร้างอยู่ติดกับแม่น้ำโทเนะที่เป็นแม่น้ำขนาดใหญ่ ในสมัยนั้นมีแม่น้ำโทเนะไหลผ่านทางฝั่งทิศตะวันตกของอาคารเลย และจากตำแหน่งที่สามารถมองเห็นภูเขาอากากิยามะและภูเขาเมียวกิซังที่อยู่ไกลออกไปได้ ทั้งอาคารหลักและอาคารเสริมต่างก็ออกแบบมาให้เปิดโล่งทางฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ให้มองเห็นทัศนียภาพอย่างงดงาม ภาพแขวนตรงพื้นที่วางของประดับ (โทโกโนะมะ) เป็นบทกวีที่จักรพรรดิไทโชที่ในสมัยนั้นยังเป็นมกุฎราชกุมารทรงประพันธ์ถึงทัศนียภาพที่มองจากรินโกกากุเมื่อเสด็จมาในปี 1908 ซึ่งเขียนโดยนักอักษรวิจิตรสมัยใหม่ จักรพรรดิไทโชเป็นกวีผู้เป็นเลิศ ทรงประพันธ์บทกวีมากถึง 1,367 เรื่อง เช่น บทกวีเกี่ยวกับภาพบรรยากาศของสถานที่ที่เสด็จไป ฯลฯ登臨江閣天晴気暖以春和 高閣倚欄吟興多白雪皚皚浅間嶽 碧流滾滾利根河แปลว่า ขึ้นรินโกกากุ“เป็นวันที่อากาศแบบฤดูใบไม้ผลิ ฟ้าโปร่งและอบอุ่น ยืนพิงราวรินโกกากุแล้วรู้สึกอยากแต่งกวี ก้มมองทัศนียภาพอันยิ่งใหญ่ของภูเขาอาซามายามะที่มีหิมะสีขาวเป็นประกายขาวโพลน กับแม่น้ำโทเนะที่มีน้ำสีเขียวปริมาณมากไหลผ่าน” (ที่มา “หนังสือรวมกวีจักรพรรดิไทโช (ฉบับสำนักพระราชวัง)” ปี 1960 จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เมโตกุ “หนังสือรวมกวีจักรพรรดิไทโช (เรียบเรียงและเขียนโดยทาดาฮิซะ อิชิกาวะ)” ปี 2014 จัดพิมพ์โดยไทชูกัง โชเต็น)
-
Information 13: The Imperial Chambers where Emperor Meiji and Emperor Taisho Stayed(Main Building, 2F)
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 2階は20畳の「次の間」、12.5畳の「一の間」、3畳の「控えの間」の3室があります。1893(明治26)年に明治天皇、1902(明治35)年・1908(明治41)年には当時皇太子だった大正天皇がご宿泊されました。 群馬県は明治維新まで天皇がお住まいだった京都から遠く離れていたため、初めて天皇をお迎えしたのは、東京に遷都されてからのことでした。臨江閣が建てられた1884(明治17)年は、前橋の生糸を横浜へ輸送するために上野~前橋間(内藤分*現在の石倉町まで)の鉄道が開通した年でもあり、近い将来、天皇が行幸されることを期待して迎賓館の建設が進められたようです。 「御座所(ござしょ:天皇の居間・寝室)」として用いられた「一の間」は、天井も壁も格式の高い設えで、蚊帳や帳(とばり)めぐらすための金輪が部屋の四隅に残されています。 床の間を北に寄せて、南西の開口部を広げ、眺望が楽しめるようになっているのも特徴の一つです。部屋の中央に座ると座敷の柱と縁側の柱が重なり、視界が遮られないように工夫されています。 13: The Imperial Chambers where Emperor Meiji and Emperor Taisho Stayed(Main Building, 2F) The second floor consists of the 3 rooms—the “tsugi-no-ma,” the “ichi-no-ma,” and the “hikae-no-ma,” measuring approximately 30, 20, and 5 square meters. Emperor Meiji stayed here in 1893 (Meiji 26), and Emperor Taisho stayed in 1902 (Meiji 35) and 1908 (Meiji 41) when he was still the Crown Prince. Before the Meiji Restoration of 1868, the Emperor’s residence was in Kyoto, far from Gunma. Because of this, the first time the Emperor stepped foot in Gunma Prefecture was after the capital was moved to Tokyo. 1884 (Meiji 17), the year Rinkokaku was built, was also the year trains began running between Ueno and Maebashi (former Naitobun Station, present-day Ishikuramachi) to transport Maebashi’s raw silk to Yokohama. It seems that an imperial visit had been anticipated in the near future, which is why plans for the construction of a state guest house were made. The ichi-no-ma was used as “Gozasho,” or “Honored Imperial Chambers,” and both its walls and ceiling boast an elegant design. Gold fittings still remain in the four corners, which were originally used for installing mosquito nets and curtains. The toko-no-ma alcove was installed on the north side of the room so that visitors could open an aperture to the southwest and enjoy the view from there. The room is designed so that, when seated in the middle of the room, the pillars in the tatami room and those on the veranda overlap so as not to obstruct the view. (13)明治天皇・大正天皇所逗留的御座所(本館2樓) 二樓有20畳的“次之間”、12.5畳的“一之間”、3畳的“休息之間”三個房間。 1893(明治26)年時,明治天皇曾在此居住,而1902(明治35)年和1908(明治41)年時,當時還是皇太子的大正天皇也曾在此宿泊。群馬縣直到明治維新之前,天皇一直居住在離京都很遠的地方。 囙此,迎接天皇的首次機會是在遷都東京之後。 臨江閣建立的1884(明治17)年,當時正是為了將前橋的蠶絲運送到橫濱而開通了從上野到前橋的鐵路(內藤分*現在的石倉町)。 據推測,當時迎賓館的建設是希望在不久的將來迎接天皇行幸。“一之間”作為“御座所(天皇的起居室和臥室)”被使用,房間的天花板和牆壁都裝潢得很高雅,四角還保留著用於懸掛蚊帳和帷幕的金輪。將床之間移至北側,打開南西的開口部,就能使房間能够欣賞到美麗的景色,這也是一個特色。 當坐在房間中央時,座敷的柱子和縁側的柱子重疊在一起,經過巧妙設計以確保視線暢通。 (13)明治天皇・大正天皇所逗留的御座所(本馆2楼) 二楼有20畳的"次之间"、12.5畳的"一之间"、3畳的"休息之间"三个房间。1893(明治26)年时,明治天皇曾在此居住,而1902(明治35)年和1908(明治41)年时,当时还是皇太子的大正天皇也曾在此宿泊。 群马县直到明治维新之前,天皇一直居住在离京都很远的地方。因此,迎接天皇的首次机会是在迁都东京之后。临江阁建立的1884(明治17)年,当时正是为了将前桥的蚕丝运送到横滨而开通了从上野到前桥的铁路(内藤分*现在的石仓町)。据推测,当时迎宾馆的建设是希望在不久的将来迎接天皇行幸。 “一之间”作为“御座所(天皇的起居室和卧室)”被使用,房间的天花板和墙壁都装饰得很高雅,四角还保留着用于悬挂蚊帐和帷幕的金轮。将床之间移至北侧,打开南西的开口部,就能使房间能够欣赏到美丽的景色,这也是一个特色。当坐在房间中央时,座敷的柱子和縁侧的柱子重叠在一起,经过巧妙设计以确保视线畅通。 (13)메이지 덴노, 다이쇼 덴노가 체재한 어좌소(본관 2층) 2층은 20조의 '차 실', 12.5조의 '일번실', 3조의 '대기실' 등 3실이 있습니다. 1893(메이지 26) 년에 메이지 덴노, 1902(메이지 35) 년·1908(메이지 41) 년에는 당시 황태자였던 다이쇼 덴노가 숙박하셨습니다. 군마 현은 메이지 유신까지 일왕이 살고 있던 교토에서 멀리 떨어져 있었기 때문에 처음으로 일왕을 맞이한 것은 도쿄로 천도된 후였습니다. 린코카쿠가 세워진 1884(메이지 17)년은 마에바시의 생사를 요코하마로 수송하기 위해 우에노~마에바시 간(나이토 분 *현재의 이시쿠라 정까지) 철도가 개통된 해이기도 해, 가까운 장래에 일왕이 행차하기를 기대하고 영빈관 건설이 진행된 것 같습니다. "어좌소(일본명 : 고쇼):덴노의 거실 침실'로 사용된 '일번실'은 천장도 벽도 격식 있게 꾸며져 모기장과 장막을 둘러볼 수 있는 금륜이 방 네 모서리에 남아 있습니다. 도코노마를 북쪽으로 기대어, 남서쪽 개구부를 넓혀, 조망을 즐길 수 있도록 되어 있는 것도 특징 중 하나입니다. 방 중앙에 앉으면 좌식 기둥과 툇마루 기둥이 겹쳐 시야가 가려지지 않도록 고안되어 있습니다. (13) ห้องโกซาโชะของจักรพรรดิเมจิและจักรพรรดิไทโช (ชั้น 2 อาคารหลัก) ชั้น 2 มี 3 ห้อง ได้แก่ “สึกิโนะมะ” ขนาดประมาณ 33 ตร.ม., “อิจิโนะมะ” ขนาดประมาณ 21 ตร.ม. และ “ฮิกาเอโนะมะ” ขนาดประมาณ 5 ตร.ม. โดยจักรพรรดิเมจิได้มาพักในปี 1893 และจักรพรรดิไทโชที่ในสมัยนั้นยังเป็นมกุฎราชกุมารได้มาพักในปี 1902 และปี 1908 จังหวัดกุนมะตั้งอยู่ห่างจากเกียวโตซึ่งเป็นที่ประทับของจักรพรรดิก่อนยุคปฏิรูปเมจิ จึงได้รับเสด็จจักรพรรดิครั้งแรกหลังจากที่ย้ายเมืองหลวงมาโตเกียวแล้ว ปี 1884 ที่สร้างรินโกกากุเป็นปีเดียวกับที่เปิดใช้ทางรถไฟระหว่างอูเอโนะถึงมาเอบาชิ (ไนโตบุน*ปัจจุบันถึงอิชิกูรามาจิ) เพื่อขนส่งไหมดิบของมาเอบาชิไปโยโกฮาม่าด้วย ว่ากันว่าสร้างเรือนรับรองเพราะคาดว่าจักรพรรดิจะเสร็จมาในอนาคตอันใกล้ ห้องที่ใช้เป็นห้องโกซาโชะ (ห้องประทับ/บรรทม) คือ “อิจิโนะมะ” ทั้งกำแพงและเพดานต่างก็ออกแบบมาอย่างมีความเป็นทางการสูง มีวงแหวนโลหะสำหรับกางมุ้งและม่านบังตาเหลืออยู่ที่สี่มุมห้อง จุดเด่นอีกอย่างหนึ่งคือการขยับพื้นที่วางของประดับ (โทโกโนะมะ) ไปทางเหนือ เพื่อขยายช่องเปิดทางตะวันตกเฉียงใต้ให้สามารถชมวิวได้ และมีการประยุกต์ให้หากนั่งกลางห้องเสาห้องกับเสาเฉลียงจะซ้อนกัน ช่วยให้ไม่บดบังทัศนวิสัยด้วย