Number of spots : 12spots
-
Information 8: A State House Built with the Modern Japanese Style in the Meiji Period (Annex, 1F)
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 臨江閣本館は初代群馬県令・楫取素彦(かとり・もとひこ)の提言により、皇族や政治家などの要人を迎え入れるための迎賓館として、1884(明治17)年に建てられました。1878(明治11)年に明治天皇が初めて群馬県に行幸された際には、当時新築間もない前橋生糸改所(生糸の品質を管理する検査場)に宿泊されており、楫取は迎賓館の必要性を痛感していたのでしょう。後に初代前橋市長となる生糸商人・下村善太郎(しもむら・ぜんたろう)が土地を提供し、下村を始めとする地元有志や企業が資金を出し合い、建設されました。 日本古来の技術と様式を用いた木造二階建ての純和風建築で、派手さはありませんが上質で落ち着きのある空間です。2階には明治天皇・皇太子(後の大正天皇)が滞在された御座所(ござしょ)、1階に能舞台を設(しつら)えた座敷があり、庭園から鑑賞できるようになっています。江戸時代の伝統を踏まえた明治前期における、天皇・皇族を始めとした要人のもてなし方が見て取れます。 現在は廊下の外側にガラス戸がはめられていますが、建てられた当時は雨戸のみでした。1908(明治41)年に皇太子(のちの大正天皇)のご滞在に際してガラス窓が入れられました。当時、平ガラスの制作は日本では行われておらず、輸入品と考えられます。当時の平ガラスは、大きな球体のガラスの一部を使って平らに伸ばすという方法で製造されたため、明治時代に製造されたガラスは表面が不規則に波打っており、ガラス越しの景色が歪んで見えます。東西の両脇に戸袋があり、雨戸を角で90度転回させて二面を閉めるという珍しい構造になっています。1884(明治17)年当時は電気は通っておらず、1908(明治41)年に初めて電燈がひかれました。 8: A State House Built with the Modern Japanese Style in the Meiji Period (Annex, 1F) The main building of Rinkokaku was built in 1884 (Meiji 17) at the request of Katori Motohiko, Gunma’s first governor, as a state guest house for imperial family members, politicians, and other important guests. Katori must have felt the need for such a guest house when Emperor Meiji first visited Gunma in 1878 (Meiji 11) and had to stay at the Maebashi Raw Silk Inspection Office. A raw silk merchantnamed Shimomura Zentaro, who would later become the first mayor of Maebashi City, donated land, and he, among many other local volunteers and companies, contributed funds for Rinkokaku’s construction. A two-story wooden structure built using traditional Japanese techniques, the main building is an example of purely Japanese-style architecture with little embellishment and a refined, calm atmosphere. The second floor is an honored imperial chamber where the Emperor Meiji and the Crown Prince (later the Emperor Taisho) stayed, while the first floor has a Japanese-style room in which a stage was constructed so that visitors could view noh drama from the garden. It shows how the Emperor, the royal family, and other dignitaries in the early Meiji period were entertained, based on the traditions of the Edo period. There is now glass sliding doors along the outer hallway walls, but when first built there were only storm shutters. The glass windows were installed when the Crown Prince (later the Emperor Taisho) visited in 1908 (Meiji 41). It is believed the windowpanes were imported, because they were not being produced in Japan at that time. The method of the windowpanes production used in the Meiji Period involved blowing a large glass ball and then flattening it. Because of this, the windowpanes produced in Meiji era have irregular waves in them which distorts the view outside. Along both the east and west sides are door cases that could hold two storm shutters turned sideways, which is a rare structure. Although there was no electricity in 1884 (Meiji 17) when the main building was first constructed, the first electric lights were installed in 1908 (Meiji 41). (8)建於明治時代的近代和風的迎賓館(本館1樓) 臨江閣本館建於1884(明治17)年,由初代群馬縣令-楫取素彥所提議,擔任迎賓館的角色以用於歡迎皇室成員,政治家等重要人物。 1878年(明治11年),明治天皇首次蒞臨群馬縣時,選擇留宿在當時新建不久的前橋蠶絲改所(負責管理蠶絲品質的檢驗場)。 楫取當時感到興建迎賓館的迫切需求。 隨後,成為初代前橋市長的蠶絲商人下村善太郎提供了土地,當地的有志者和企業,包括下村在內,共同出資興建了臨江閣本館。採用日本古來的科技和風格,是一座兩層木造的純和風建築,雖然不張揚,但空間優雅、寧靜。 二樓設有明治天皇和皇太子(即後來的大正天皇)曾居住的“御座所”,一樓設有能舞臺,並可以從庭院欣賞。 展現了融合江戸時代傳統的明治初期的對天皇、皇室成員等要人的款待管道。 現時走廊外側裝有玻璃窗,但在建造時只有雨棚。 1908(明治41)年,在皇太子(後來的大正天皇)逗留期間,安裝了玻璃窗。 當時,日本尚未生產平板玻璃,由此被認為是進口品。 由於當時的平板玻璃是通過將大型玻璃球的一部分拉平製造的,所以在明治時代生產的玻璃表面會呈現不規則的波浪狀,透過玻璃看到的景色會畸變。 東西兩側設有門袋,雨棚可以在角度上旋轉90度關閉兩面,這是一種罕見的結構。 在1884年(明治17年),電力尚未通電,直到1908年(明治41年)才首次使用電燈。 (8)建于明治时代的近代和风的迎宾馆(本馆1楼) 临江阁本馆建于1884(明治17)年,由初代群马县令-楫取素彦所提议,担任迎宾馆的角色以用于欢迎皇室成员,政治家等重要人物。1878年(明治11年),明治天皇首次莅临群马县时,选择留宿在当时新建不久的前桥蚕丝改所(负责管理蚕丝品质的检验场)。楫取当时感到兴建迎宾馆的迫切需求。随后,成为初代前桥市长的蚕丝商人下村善太郎提供了土地,当地的有志者和企业,包括下村在内,共同出资兴建了临江阁本馆。 采用日本古来的技术和风格,是一座两层木造的纯和风建筑,虽然不张扬,但空间优雅、宁静。二楼设有明治天皇和皇太子(即后来的大正天皇)曾居住的“御座所”,一楼设有能舞台,并可以从庭院欣赏。展现了融合江戸时代传统的明治初期的对天皇、皇室成员等要人的款待方式。 目前走廊外侧装有玻璃窗,但在建造时只有雨棚。1908(明治41)年,在皇太子(后来的大正天皇)逗留期间,安装了玻璃窗。当时,日本尚未生产平板玻璃,由此被认为是进口品。由于当时的平板玻璃是通过将大型玻璃球的一部分拉平制造的,所以在明治时代生产的玻璃表面会呈现不规则的波浪状,透过玻璃看到的景色会畸变。东西两侧设有门袋,雨棚可以在角度上旋转90度关闭两面,这是一种罕见的结构。在1884年(明治17年),电力尚未通电,直到1908年(明治41年)才首次使用电灯。 (8) 메이지 시대에 지어진 근대 일본식 영빈관(본관1층) 린코카쿠 본관은 초대 군마현령 가토리 모토히코의 제언에 따라 왕족과 정치인 등 주요 인사를 맞아들이기 위한 영빈관으로 1884년(메이지17)에 세워졌습니다. 1878(메이지11)년 메이지 덴노가 처음 군마현에 행차하셨을 때에는 당시 신축한 지 얼마 되지 않은 마에바시 생사개소(생사의 품질을 관리하는 검사장)에 숙박하셨기 때문에, 가토리 현령은 영빈관의 필요성을 절감하고 있었을 것입니다. 후에 초대 마에바시 시장이 되는 생실상인, 시모무라 젠타로가 토지를 제공하고, 시모무라를 비롯한 지역 유지와 기업이 자금을 서로 대면서 건설되었습니다. 일본 전통의 기술과 양식을 이용한 목조 2층의 순 일본식 건축으로 화려하지는 않지만 고급스럽고 차분한 공간입니다 2층에는 메이지 덴노·왕세자(후의 다이쇼 덴노)가 머물렀던 고쇼, 1층에 농악 무대를 설치한 방이 있어 정원에서 감상할 수 있게 되어 있습니다. 에도시대의 전통을 바탕으로 메이지 전기 덴노·황족을 비롯한 요인들의 대접 방식을 알 수 있습니다. 현재는 복도 밖에 유리문이 끼워져 있지만, 지어졌을 당시에는 덧문 뿐이었습니다. 1908(메이지41) 년에 황태자(나중의 다이쇼 덴노)가 머물 때 유리창을 넣었습니다. 당시 평유리 제작은 일본에서는 이루어지지 않아 수입품으로 생각됩니다. 당시의 평유리는 큰 구체의 유리 일부를 사용하여 평평하게 펴는 방식으로 제조되었기 때문에 메이지 시대에 제조된 유리는 표면이 불규칙하게 물결치고 있어 유리 너머의 경치가 일그러져 보입니다. 동서 양옆에 덧문이 있고 덧문을 모서리로 90도 회전시켜 두 면을 닫는 특이한 구조로 되어 있습니다. 1884(메이지 17) 년 당시에는 전기는 통하지 않았고, 1908(메이지 41) 년에 처음 전등이 켜졌습니다. (8) เรือนรับรองแขกสไตล์ญี่ปุ่นสมัยใหม่ที่สร้างในยุคเมจิ (ชั้น 1 อาคารหลัก) อาคารหลักของรินโกกากุสร้างขึ้นในปี 1884 เพื่อเป็นเรือนรับรองแขกคนสำคัญ เช่น เชื้อพระวงศ์ นักการเมือง ฯลฯ ตามคำแนะนำของ โมโตฮิโกะ คาโตริ ผู้ว่าราชการจังหวัดกุนมะคนแรก เมื่อจักรพรรดิเมจิเสด็จมาจังหวัดกุนมะเป็นครั้งแรกในปี 1878 ทรงเสด็จไปประทับที่โรงตรวจคุณภาพไหมดิบที่เพิ่งสร้างเสร็จในตอนนั้น จึงอาจทำให้โมโตฮิโกะเล็งเห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องมีเรือนรับรอง แล้ว เซ็นตาโร ชิโมมูระ พ่อค้าไหมดิบซึ่งต่อมาได้เป็นนายกเทศมนตรีเมืองมาเอบาชิคนแรกก็ได้บริจาคที่ดินให้ บริษัทและอาสาสมัครในท้องถิ่นก็ได้ช่วยกันออกเงินทุน และสร้างรินโกกากุขึ้นมา ที่นี่เป็นสถาปัตยกรรมสไตล์ญี่ปุ่นอย่างแท้จริง เป็นโครงสร้างไม้สองชั้นที่ใช้ลวดลายและเทคนิคที่มีมาแต่โบราณของญี่ปุ่น ให้บรรยากาศที่เงียบสงบและมีคุณภาพ ไร้ซึ่งความฉูดฉาด ชั้น 2 มีห้องโกซาโชะที่จักรพรรดิเมจิและมกุฎราชกุมาร (ต่อมาขึ้นเป็นจักรพรรดิไทโช) มาพัก และชั้น 1 มีห้องญี่ปุ่นที่มีเวทีแสดงโนที่สามารถชมมาจากในสวนได้ด้วย แสดงให้เห็นถึงวิธีรับรองบุคคลสำคัญ เช่น จักรพรรดิและเชื้อพระวงศ์ ฯลฯ ในช่วงต้นเมจิที่ได้รับอิทธิพลจากธรรมเนียมในยุคเอโดะ ปัจจุบันมีติดประตูกระจกด้านนอกของทางเดินเอาไว้แต่ในสมัยที่สร้างเสร็จใหม่ ๆ จะมีแต่ประตูกันฝนเท่านั้น และมีการติดหน้าต่างกระจกเมื่อตอนที่มกุฎราชกุมาร (ต่อมาขึ้นเป็นจักรพรรดิไทโช) มาพักในปี 1908 ซึ่งในช่วงดังกล่าวยังไม่มีการผลิตกระจกเรียบในญี่ปุ่น จึงคาดว่าเป็นสินค้าที่นำเข้ามา กระจกเรียบในสมัยนั้นจะสร้างโดยการใช้ส่วนหนึ่งของแก้วทรงกลมขนาดใหญ่มายืดให้เรียบเป็นแผ่น แต่กระจกที่ผลิตในยุคเมจิจะมีผิวเป็นคลื่นไม่เรียบ ทำให้วิวที่มองผ่านกระจกดูเบี้ยวไป ที่สองฝั่งทางตะวันออกและตะวันตกมีช่องเก็บประตูอยู่ สำหรับปิดสองด้านโดยต้องหมุนประตูกันฝน 90 องศาด้วย เป็นโครงสร้างที่หาดูได้ยาก ทั้งนี้ ในปี 1884 ไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึงและได้ติดตั้งหลอดไฟครั้งแรกในปี 1908
-
Information 7: Main Building—Hallway Connecting the Annex
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย この廊下は、本館へと続く渡り廊下です。本館は別館が建つ四半世紀前に迎賓館として建てられ、明治天皇・皇太子(のちの大正天皇)を始めとして多くの皇族方が滞在されました。贅沢に造られた別館とは趣が異なり、きらびやかな装飾はありませんが随所に格式の高い設(しつら)えが見られます。ゆっくりご見学ください。 7: Main Building—Hallway Connecting the Annex This hallway connects to the main building, which was built a quarter century before the annex, and has housed many of Japan’s imperial family, including the Meiji and Taisho emperors. Differing from the flashy annex, while the main building has few lavish adornments, you can see more subtle indications of a high-class design in its fittings. Please have a look at these at your leisure. (7)本館—連結別館的連結走廊 這個走廊是通往本館的連接走廊。 本館是在別館的四分之一個世紀前作為迎賓館所建造。 曾經是明治天皇、皇太子(後來的大正天皇)等許多皇室成員的下榻之地。 與奢華的別館不同,雖然沒有華麗的裝潢,但處處可見高雅的佈置。 請慢慢欣賞。 (7)本馆—链接别馆的链接走廊 这个走廊是通往本馆的连接走廊。本馆是在别馆的四分之一个世纪前作为迎宾馆所建造。曾经是明治天皇、皇太子(后来的大正天皇)等许多皇室成员的下榻之地。与奢华的别馆不同,虽然没有华丽的装饰,但处处可见高雅的布置。请慢慢欣赏。 (7) 본관-별관을 잇는 건물 사이 복도 이 복도는 본관으로 이어지는 복도입니다. 본관은 별관이 들어서기 사십사 세기 전에 영빈관으로 지어졌고, 메이지 덴노 황태자(훗날 다이쇼 덴노)를 비롯하여 많은 왕족들이 머물렀습니다. 호화롭게 지어진 별관과는 멋이 달라 찬란한 장식은 없지만 곳곳에 격식을 갖춘 모습을 볼 수 있습니다. 천천히 둘러보세요. (7) ทางเดินเชื่อมระหว่างอาคารหลักและอาคารเสริม ทางเดินนี้เป็นทางเดินที่เชื่อมไปยังอาคารหลัก อาคารหลักถูกสร้างขึ้นเป็นเรือนรับรองแขกประมาณ 25 ปีก่อนที่จะสร้างอาคารเสริม ซึ่งมีทั้งจักรพรรดิเมจิ มกุฎราชกุมาร (ต่อมาขึ้นเป็นจักรพรรดิไทโช) และเชื้อพระวงศ์มาพักที่นี่จำนวนมาก โดยจะต่างจากอาคารเสริมที่สร้างอย่างหรูหรา ที่นี่ไม่มีการตกแต่งที่งดงามเป็นประกาย แต่เห็นได้ถึงความเป็นสถานที่ที่มีความเป็นทางการสูง เชิญมาชมได้ตามสบาย
-
Information 10: Katori Motohiko—The Man Who Proposed Building Rinkokaku(Main Building, 1F About Katori Motohiko)
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 臨江閣の建設を提言した楫取素彦(かとり・もとひこ)は、群馬県の初代県令(県知事)として群馬の発展に尽くした人です。長州・萩(山口県萩市)の出身。松下村塾を開いた教育者・吉田松陰(よしだ・しょういん)と親交が深く、松蔭の妹・寿(ひさ)と結婚。寿の死後に再婚した文(ふみ)もまた松蔭の妹です。 医者の家に生まれ学者肌だった楫取は、教育施設の整備や義務教育の普及など教育に力を入れ、気性が荒い県民性から「治めるのが難しい」と言われた群馬県を全国屈指の教育県に押し上げました。また養蚕や製糸といった産業振興にも力を注ぎ、経営不振で閉鎖の危機にあった富岡製糸場の存続に貢献しました。 「前橋の恩人」と言われる楫取が前橋市に残した最も大きな功績は、県庁を高崎から前橋に移転したことです。生糸商人の下村善太郎(しもむら・ぜんたろう/後の初代・前橋市長)ら前橋の有力者たちは師範学校の建設や衛生局設立などに私財を投じ、楫取を支えました。 県民と協力して県政に取り組んだ楫取は県民に慕われ、退任する際には完成間際の臨江閣で盛大な送別会が行われました。本館玄関に掲げられている扁額(へんがく)「臨江閣」の書は、楫取の直筆といわれています。 10: Katori Motohiko—The Man Who Proposed Building Rinkokaku(Main Building, 1F About Katori Motohiko) The man who proposed the construction of Rinkokaku, Gunma’s first governor Katori Motohiko contributed greatly to Gunma’s development. Originally from the Hagi region of Choshu (present-day Hagi City in Yamaguchi Prefecture), Katori was very close to Shokasonjuku Academy founder Yoshida Shoin and married his younger sister Hisa. After Hisa’s death, Katori married a woman named Fumi, another of Shoin’s sisters. Born to a doctor’s family, Katori was an academic at heart and devoted his energies to developing educational institutions and spreading compulsory education. He took a “difficult to govern” Gunma Prefecture, where the people were said to be rather unruly, and raised it up to become one of the best Prefectures in Japan for education. Katori also gave his attention to the promotion of industry, including silkworm breeding and silk production, and contributed to the survival of Tomioka Silk Mill which was on the verge of closing. Katori, who is called the “savior of Maebashi,” contributed much to the city, but his greatest contribution was the moving of the Prefectural Office from Takasaki to Maebashi. Silk merchant Shimomura Zentaro (later the first mayor of Maebashi) and other influential people in Maebashi supported Katori by contributing personal assets towards the construction of a teacher’s school, the establishment of a Sanitary Department, and more. For cooperating with residents in his prefectural administration, Katori was beloved by the people of Gunma. Upon his stepping down as governor, a farewell party was held in his honor at Rinkokaku just as it was being completed. It is said that Governor Katori himself wrote the framed calligraphy hanging at the entrance to Rinkokaku’s main building. (10)提議了建設臨江閣的前橋的恩人 楫取素彥(本館1樓關於楫取素彥) 楫取素彥是提議興建臨江閣的人物,作為群馬縣的第一任縣令(縣知事),為群馬的發展做出了貢獻。 他出生於山口縣萩市,與創辦了松下村塾的教育家,吉田松陰有著深厚的友誼。 他與松陰的妹妹壽結為夫妻,壽去世後再婚的妻子文同樣也是松陰的妹妹。楫取出生在醫者之家,天生是比特學者。 他致力於教育事業,包括教育設施的建設和義務教育的推廣。 他以獨特的學者氣質,成功將群馬縣由一個因為群性偏激而被稱為“難以治理”的地區,推上成為全國頂尖的教育之地。 此外,楫取還積極投身於產業振興,尤其關注養蠶和紡紗等領域。 他為富岡紡紗廠,一個因經營不善而瀕臨關閉的工廠,做出了巨大的貢獻,幫助其保持生存。楫取被譽為“前橋的恩人”,他在前橋市留下的最大功績之一是將縣府從高崎遷至前橋。 蠶絲商人下村善太郎(後來成為初代前橋市長)等前橋的有力人士投入個人財力,支持了師範學校的建設和衛生局的設立等項目,為楫取的舉措提供了支持。楫取積極與縣民合作,努力推動縣政,囙此受到了縣民的喜愛。 在他卸任時,一場盛大的送別會在即將完成的臨江閣內舉行。 掛在本館入口的匾額“臨江閣”據說是楫取親筆所寫。 (10)提议了建设临江阁的前桥的恩人 楫取素彦(本馆1楼 关于楫取素彦) 楫取素彦是提议兴建临江阁的人物,作为群马县的第一任县令(县知事),为群马的发展做出了贡献。他出生于山口县萩市,与创办了松下村塾的教育家,吉田松阴有着深厚的友谊。他与松阴的妹妹寿结为夫妻,寿去世后再婚的妻子文同样也是松阴的妹妹。 楫取出生在医者之家,天生是位学者。他致力于教育事业,包括教育设施的建设和义务教育的推广。他以独特的学者气质,成功将群马县由一个因为群性偏激而被称为“难以治理”的地区,推上成为全国顶尖的教育之地。此外,楫取还积极投身于产业振兴,尤其关注养蚕和纺纱等领域。他为富冈纺纱厂,一个因经营不善而濒临关闭的工厂,做出了巨大的贡献,帮助其保持生存。 楫取被誉为“前桥的恩人”,他在前桥市留下的最大功绩之一是将县府从高崎迁至前桥。蚕丝商人下村善太郎(后来成为初代前桥市长)等前桥的有力人士投入个人财力,支持了师范学校的建设和卫生局的设立等项目,为楫取的举措提供了支持。 楫取积极与县民合作,努力推动县政,因此受到了县民的喜爱。在他卸任时,一场盛大的送别会在即将完成的临江阁内举行。挂在本馆入口的匾额“临江阁”据说是楫取亲笔所写。 (10) 린코카쿠 건설을 제안한 마에바시의 은인 가토리 모토히코(본관1층 가토리 모토히코에 관해서) 린코카쿠 건설을 제언한 가토리 모토히코는 군마현의 초대 현령(현지사)으로서 군마의 발전에 힘쓴 사람입니다. 조슈·하기(야마구치현 하기시) 출신. 쇼카 손주쿠를 연 교육자 ‘요시다 쇼인’과 친교가 깊고, 쇼인의 여동생 ‘히사’와 결혼. ‘히사’의 사후에 재혼한 ‘후미’ ,또한 쇼인의 여동생입니다. 의사 집안에서 태어나 학자인 그는 교육시설 정비와 의무교육 보급 등 교육에 힘써 성품이 사나운 현민성 때문에 다스리기 어렵다는 군마현을 전국 굴지의 교육현으로 끌어올렸습니다. 또, 양잠업이나 제사라고 하는 산업 진흥에도 힘을 쏟아, 경영 부진으로 폐쇄 위기에 있던 도미오카 제사장의 존속에 공헌했습니다. '마에바시의 은인'으로 불리는 가토리가 마에바시시에 남긴 가장 큰 공적은 현청을 다카사키에서 마에바시로 이전한 것입니다. 생사 상인, 시모무라 젠타로(후의 초대 마에바시 시장) 등 마에바시의 유력자들은 사범학교 건설이나 위생국 설립 등에 사재를 투자해, 가토리를 지지했습니다. 현민과 협력하여 현정에 임한 가토리는 현민들의 사랑을 받아 퇴임할 때에는 완성 직전의 린코카쿠에서 성대한 송별회를 가졌습니다. 본관 현관에 걸려 있는 현판 ‘린코카쿠’의 글씨는 가토리의 친필이라고 합니다. (10) โมโตฮิโกะ คาโตริ ผู้มีพระคุณของมาเอบาชิที่เสนอให้สร้างรินโกกากุ (เกี่ยวกับโมโตฮิโกะ คาโตริ ชั้น 1 อาคารหลัก) โมโตฮิโกะ คาโตริ ที่เสนอให้สร้างรินโกกากุ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดกุนมะคนแรกซึ่งได้ทุ่มเทกับการพัฒนาของกุนมะมาก เกิดที่ฮากิ แคว้นโจชู (เมืองฮากิ จังหวัดยามากูจิ) สนิทกับ โชอิน โยชิดะ ครูผู้สร้างโรงเรียนสอนพิเศษโชกาซนจูกุ และได้แต่งงานกับฮิซะ น้องสาวของโชอิน หลังจากฮิซะเสียชีวิตก็แต่งงานกับฟูมิ ซึ่งเป็นน้องสาวของโชอินเช่นกัน โมโตฮิโกะเกิดในครอบครัวแพทย์และมีความรู้ดุจนักวิชาการ ได้ทุ่มเทให้กับการศึกษา เช่น การสร้างสถานศึกษา การทำให้แพร่หลายซึ่งการศึกษาภาคบังคับ ฯลฯ จนสามารถผลักดันให้จังหวัดกุนมะที่เคยถูกหาว่า “รักษายาก” เพราะคนในจังหวัดมีความหัวรุนแรงกลายเป็นจังหวัดการศึกษาชั้นนำของประเทศได้ นอกจากนี้ยังทุ่มเทให้กับการพัฒนาอุตสาหกรรม เช่น การเลี้ยงไหม การทอไหม ฯลฯ รวมถึงการพยายามช่วยให้โรงงานไหมโทมิโอกะสามารถผ่านพ้นวิกฤตที่เกือบต้องปิดกิจการเนื่องจากการบริหารจัดการที่ไม่ดีไปได้ด้วย ผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโมโตฮิโกะที่ถูกเรียกว่าเป็น “ผู้มีพระคุณของมาเอบาชิ” คือการย้ายที่ทำการจังหวัดจากทากาซากิมายังมาเอบาชิ ซึ่งได้เหล่าผู้มีอำนาจในมาเอบาชิ เช่น เซ็นตาโร ชิโมมูระ พ่อค้าไหมดิบ (ต่อมาได้เป็นนายกเทศมนตรีเมืองมาเอบาชิคนแรก) มาสนับสนุนโมโตฮิโกะโดยการออกเงินส่วนตัวให้สร้างโรงเรียนพัฒนาครู สร้างสำนักสุขาภิบาล ฯลฯ โมโตฮิโกะบริหารจังหวัดโดยร่วมมือกับผู้คนในจังหวัดทำให้เป็นที่รักของผู้คน ตอนที่ออกจากตำแหน่งได้มีการจัดงานเลี้ยงส่งอย่างใหญ่โตที่รินโกกากุก่อนที่จะสร้างเสร็จสมบูรณ์เล็กน้อย ว่ากันว่าโมโตฮิโกะเป็นคนเขียนป้าย “รินโกกากุ” ที่ติดอยู่ตรงทางเข้าอาคารหลักด้วยตนเอง
-
Information 9: 5 Jars Under the Floor The “Ichi-no-ma” Transformed Into a Noh Stage(Main Building, 1F “Ichi-no-ma”)
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 本館1階は入り口から「控えの間」「三の間」「次の間」「一の間」と4つの和室が連なり、廊下を挟んで奥座敷が2室あります。どの部屋にもきらびやかな装飾は見られませんが、よく見ると障子の桟や雪見窓に凝った意匠が取り入れられています。 迎賓館としての特徴をよく示しているのが、14畳の「一の間」です。一見すると普通の和室ですが、畳の下に厚さ約3センチの松板の板の間となっており、畳をあげると能舞台に変化する構造になっています。南面を観客席に見立て、奥座敷の縁側を橋掛かりとして使用していたようです。 また解体修理をした際に、床下に口径約40センチ、深さ約70センチもの大きな甕(かめ)が5個、口を上にして埋め込まれているのが発見されました。これは音響効果を狙ったもので、舞台の上で演者が足拍子を踏むと甕に音が反響し、深みのある音が出ると言われています。1885(明治18)年9月に前橋町民の有志によって能・狂言が演じられた記録が残っています。 9: 5 Jars Under the Floor The “Ichi-no-ma” Transformed Into a Noh Stage(Main Building, 1F “Ichi-no-ma”) From the entrance to the first floor of the main building extend four connected Japanese-style rooms— “hikae-no-ma,” “san-no-ma,” “tsugi-no-ma,” and “ichi-no-ma”—and there are two “oku-zashiki” rooms on either side of the hallway. None of these rooms have any ornate decorations but look closely and you can see indications of a refined design in the sliding door frames and the yukimi (“snow-viewing”) window. The roughly 22-square-meter “ichi-no-ma” room has many features characteristic of a state guest house. At first glance it looks like an average Japanese-style room, but removing the tatami reveals a 3-inch pine-board floor which transforms the space into a noh stage. It seems the south side was used for audience seating, while the oku-zashiki veranda was used as a corridor connecting the stage to the backstage. Five large earthenware jars called “kame” were discovered under the floor when making repairs to the building. Measuring 70 centimeters in depth and 40 centimeters in diameter at the opening, they were placed with mouths facing upward for acoustic effect. They say when actors stamp the floor, it produces a profound sound. There are records of noh and kyogen plays being performed by local volunteers in September 1885 (Meiji 18). (9)地板下的5個瓮 變成能舞臺的“一之間”(本館1樓“一之間”) 本館的一樓從入口開始,依次有“休息之間”、“三之間”、“次之間”、“一之間”四個和室相連,通過走廊分隔,奧座敷有兩間。 雖然每個房間沒有華麗的裝潢,但仔細觀察可以發現,障子的桟(框條)和雪見窗等地方融入了精緻的設計。迎賓館的一大特色是14畳的“一之間”。 乍看之下,它只是一間普通的和室,但在榻榻米下麵,有著約3釐米厚的松板隔板,擁有將榻榻米舉起後變成能舞臺的結構。 將南側視作觀眾席,並且使用奧座敷的緣側作為橋樑。在進行解體修理時,底下發現了5個口徑約40釐米、深度約70釐米的大型瓮(陶罐),口朝上埋入地下。 設計瓮的目的在於實現音響效果,演員在舞臺上踏擊足拍時,聲音會在瓮內迴響,產生深沉的音響效果。 據說在1885年(明治18年)9月,前橋町的熱心人士進行了一場能和狂言的表演,留下了相應的記錄。 (9)地板下的5个瓮 变成能舞台的“一之间”(本馆1楼 “一之间”) 本馆的一楼从入口开始,依次有“休息之间”、“三之间”、“次之间”、“一之间”四个和室相连,通过走廊分隔,奥座敷有两间。虽然每个房间没有华丽的装饰,但仔细观察可以发现,障子的桟(框条)和雪见窗等地方融入了精致的设计。 迎宾馆的一大特色是14畳的“一之间”。乍看之下,它只是一间普通的和室,但在榻榻米下面,有着约3厘米厚的松板隔板,拥有将榻榻米举起后变成能舞台的结构。将南侧视作观众席,并且使用奥座敷的缘侧作为桥梁。 在进行解体修理时,底下发现了5个口径约40厘米、深度约70厘米的大型瓮(陶罐),口朝上埋入地下。设计瓮的目的在于实现音响效果,演员在舞台上踏击足拍时,声音会在瓮内回响,产生深沉的音响效果。据说在1885年(明治18年)9月,前桥町的热心人士进行了一场能和狂言的表演,留下了相应的记录。 (9) 마루 밑에 5개의 호, 농악 무대로 변화하는 ‘일번실’(본관1층 ‘일번실’) 본관 1층은 입구에서 '대기실', '삼번실', '차 실', '일번실' 등 4개의 일본식 방이 이어져 복도를 사이에 두고 안방이 2개 있습니다. 어느 방에서도 찬란한 장식은 볼 수 없지만 자세히 보면 미닫이 창살이나 설맞이 창에 공을 들인 의장이 도입되어 있습니다. 영빈관으로서의 특징을 잘 보여주는 것이 바로 14조의 '일번실'입니다. 언뜻 보기에 평범한 일본식 방이지만 다다미 밑에 두께 약 3cm의 송판 마루로 되어 있고 다다미를 올리면 농악 무대로 변화하는 구조입니다. 남면을 관중석으로 보고 안방 툇마루를 다리로 사용했던 것 같습니다. 또, 해체 수리를 했을 때 바닥 아래에 구경 약 40cm, 깊이 약 70cm의 큰 항아리가 5개, 입을 위로 하고 박혀 있는 것이 발견되었습니다. 이는 음향효과를 노린 것으로 무대 위에서 연기자가 발장단을 밟으면 항아리에 소리가 울려 깊이 있는 소리가 난다고 합니다. 1885(메이지 18) 년 9 월에 마에바시정민의 유지에 의해 농악 막간의 희극이 연기된 기록이 남아 있습니다. (9) ไห 5 ใบที่ทางเดิน กับ “อิจิโนะมะ” ที่กลายเป็นเวทีโน (“อิจิโนะมะ” ชั้น 1 อาคารหลัก) ชั้น 1 อาคารหลักมีห้องญี่ปุ่น 4 ห้องเชื่อมต่อกัน ได้แก่ “ฮิกาเอโนะมะ” “ซันโนะมะ” “สึกิโนะมะ” และ “อิจิโนะมะ” ตามลำดับจากทางเข้า จากนั้นมีทางเดินคั่นและเป็นห้องโอกูซาชิกิ (ห้องแบบญี่ปุ่นด้านใน) อีก 2 ห้อง ซึ่งทุกห้องจะไม่ได้มีการตกแต่งที่งดงามเป็นประกาย แต่หากสังเกตดี ๆ จะเห็นว่ามีการใส่ดีไซน์เอาไว้ที่หน้าต่างชมหิมะและซี่ไม้ระแนงประตู ห้องที่แสดงให้เห็นคุณลักษณะพิเศษของเรือนรับรองแขกคือห้อง “อิจิโนะมะ” ขนาดประมาณ 23 ตร.ม. หากดูผิวเผินก็จะเหมือนห้องญี่ปุ่นทั่วไป แต่ใต้เสื่อทาทามิจะเป็นพื้นไม้สนหนาประมาณ 3 ซม. ซึ่งเป็นโครงสร้างที่สามารถยกเสื่อทาทามิออกแล้วใช้เป็นเวทีโนได้ ว่ากันว่าใช้ฝั่งทิศใต้เป็นที่นั่งผู้ชมและใช้เฉลียงของห้องโอกูซาชิกิเป็นทางเดินนักแสดง นอกจากนี้ ตอนที่แยกชิ้นส่วนเพื่อบูรณะได้พบว่ามีไหขนาดใหญ่เส้นผ่านศูนย์กลางของปากไหอยู่ที่ประมาณ 40 ซม. และลึกประมาณ 70 ซม. จำนวน 5 ใบถูกฝังอยู่ตรงทางเดินในลักษณะที่หันปากไหขึ้นด้านบน ว่ากันว่ามีไว้เพื่อให้เกิดเสียงสะท้อน เมื่อนักแสดงกระทืบเท้าบนเวทีแล้วเสียงจะสะท้อนกับไห ทำให้เกิดเสียงที่มีความลึก และมีบันทึกว่าได้มีการแสดงโนและเคียวเก็นโดยอาสาสมัครจากชาวเมืองมาเอบาชิในเดือนกันยายน 1885 ด้วย
-
Information 1: Prologue Rinkokaku and “The Town of Raw Silk,” Maebashi
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 前橋市域は江戸時代から、「生糸のまち」として発展してきました。 幕末から明治時代にかけて外国との貿易が開始されると、生糸や蚕種(カイコの卵)は日本の主要な輸出品となり、前橋は繭・生糸の集散地として活況を呈しました。しかし、前橋には要人をもてなす建物がありませんでした。 そこで初代群馬県令(県知事)の楫取素彦が、迎賓館の建設を提言。前橋の有力者や銀行などの企業が協力して資金を出し合い、1884(明治17)年9月に完成したのが「臨江閣(現在の「本館」)」で、明治天皇をはじめ多くの皇族が滞在されました。その2ヵ月後には楫取県令他、県庁職員が資金を出して「茶室」が建てられています。 「別館」が建てられたのは、1910(明治43)年。地方の産物を集めた博覧会「一府十四県連合共進会」が前橋で開催されるにあたり、貴賓館として建築されました。 「臨江閣」という名称は、大河・利根川に臨む場所に建てられたことから付けられたもの。遠く浅間山や妙義山を望むロケーションを生かし、眺望を重視した建物になっています。 第二次世界大戦の戦火を免れた臨江閣は、近代の前橋を今に伝える貴重な近代和風の木造建築物であり、本館・別館・茶室が国指定重要文化財として指定されています。 1: Prologue Rinkokaku and “The Town of Raw Silk,” Maebashi The Maebashi metropolitan area became known as the “town of raw silk” from the Edo Era (17th-19th century). As international trade began from the end of Edo through the Meiji Era (19th-early 20th century), raw silk and silkworm eggs became one of Japan’s major exports. At the same time, Maebashi became a trading center for silkworm breeding and raw silk. However, Maebashi had no building to entertain dignitaries and other important guests. Because of this, Gunma’s first governor Katori Motohiko recommended the construction of a state guest house. With financial support from banks, companies, and influential individuals in Maebashi, the construction of “Rinkokaku” (the “main building”) was completed in September 1884 (Meiji 17). Two months later, Governor Katori and Gunma prefectural government officials contributed funding for the constructing of the “chashitsu,” or tea room. Starting with the Meiji Emperor himself, many of the imperial family have stayed at Rinkokaku. The “bekkan” annex was built in 1910 (Meiji 43) with the purpose of housing special guests who came to Maebashi for the “15-Prefecture Combined Exhibition,” an exhibition showing off goods from various regions. The name “Rinkokaku,” or the “palace overlooking the great river,” refers to its location right next to the Tone River. Rinkokaku makes good use of its location, offering wonderful views of Mt. Asama and Mt. Myogi. Having survived the bombardments of World War II, Rinkokaku is a precious piece of late modern Japanese architecture that conveys the history of that era in Maebashi. The main building, annex, and tea room are all designated National Important Cultural Properties. (1)序“蠶絲之城”前橋的歷史與傳承文化的臨江閣 自江戶時代起,前橋市區就作為“蠶絲之城”而發展壯大。自幕末至明治時代,隨著與外國的貿易開始,蠶絲和蠶種(蠶卵)成為日本的主要出口商品,前橋成為蠶繭和蠶絲的集散地,繁榮興旺。 然而,前橋卻沒有一座能够招待重要人物的建築。囙此,第一任群馬縣令(縣知事)楫取素彥提出了興建迎賓館的建議。 在前橋的有力人士以及銀行等企業的合作下,於1884年(明治17年)9月完成了“臨江閣”(現在的“本館”),明治天皇等許多皇室成員曾在此下榻。 兩個月後,縣令楫取和其他縣庁職員出資興建了一座“茶室”。“別館”建立於1910(明治43)年。 在前橋舉辦地方產品聚集的博覽會“一府十四縣聯合共進會”之際,作為貴賓館而建。“臨江閣”這個名稱是因其建在大河・利根川畔而得名。 充分利用遠處的淺間山和妙義山的景色,建築注重視野,從而形成了一個可以俯瞰美景的建築。逃過了第二次世界大戰戰火的“臨江閣”是一座珍貴的近代和風的木造建築,至今傳承著近代前橋的歷史。 其本館、別館和茶室均被指定為國家指定重要文化財產。 (1)序“蚕丝之城”前桥的历史与传承文化的临江阁 自江户时代起,前桥市区就作为“蚕丝之城”而发展壮大。 自幕末至明治时代,随着与外国的贸易开始,蚕丝和蚕种(蚕卵)成为日本的主要出口商品,前桥成为蚕茧和蚕丝的集散地,繁荣兴旺。然而,前桥却没有一座能够招待重要人物的建筑。 因此,第一任群马县令(县知事)楫取素彦提出了兴建迎宾馆的建议。在前桥的有力人士以及银行等企业的合作下,于1884年(明治17年)9月完成了“临江阁”(现在的“本馆”),明治天皇等许多皇室成员曾在此下榻。两个月后,县令楫取和其他县庁职员出资兴建了一座“茶室”。 “别馆”建立于1910(明治43)年。在前桥举办地方产品聚集的博览会“一府十四县联合共进会”之际,作为贵宾馆而建。 “临江阁”这个名称是因其建在大河・利根川畔而得名。充分利用远处的浅间山和妙义山的景色,建筑注重视野,从而形成了一个可以俯瞰美景的建筑。 逃过了第二次世界大战战火的“临江阁”是一座珍贵的近代和风的木造建筑,至今传承着近代前桥的历史。其本馆、别馆和茶室均被指定为国家指定重要文化财产。 (1)프롤로그「생실의 마을」마에바시의 역사와 문화를 전하는 린코카쿠 마에바시시 지역은 에도 시대부터, 「생실의 마을」로서 발전해 왔습니다.막부 말기부터 메이지 시대에 걸쳐 외국과의 무역이 개시되자, 생사나 누에 씨(누에의 알)는 일본의 주요 수출품이 되었고, 마에바시는 고치·생실의 집산지로서 성황을 이루었습니다. 그러나, 마에바시에는 요인을 대접하는 건물이 없었습니다. 거기서 초대 군마현령(현지사)의 가토리 모토히코가, 영빈관의 건설을 제언. 마에바시의 유력자나 은행등의 기업이 협력해 자금을 조달해, 1884(메이지 17)년 9월에 완성한 것이 「린코카쿠(현재의 「본관」)」으로, 메이지 덴노를 비롯한 많은 왕족이 머물렀습니다. 그로부터 두 달 후에는 가토리 현령 외, 현청 직원들이 자금을 대 ‘다실'이 지어졌습니다.‘별관'이 세워진 것은 1910년. 지방의 산물을 모은 박람회 ‘1부14현 연합공진회'가 마에바시에서 개최되는 것에 맞춰, 귀빈관으로 건축되었습니다.‘린코카쿠’라는 명칭은 대하 도네가와에 임하는 곳에 세워졌기 때문이다. 멀리 아사마 산과 묘기 산을 조망하는 위치의 특징을 살려, 조망을 중시한 건물입니다. 제2차 세계대전의 전화를 면한 린코카쿠는 근대의 마에바시를 지금까지 전해주는 귀중한 근대 일본식 목조건축물로 본관, 별관, 다실이 국가지정 중요문화재로 지정되어 있습니다. (1) อารัมภบท รินโกกากุที่ถ่ายทอดประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของมาเอบาชิ “เมืองแห่งไหมดิบ” บริเวณเมืองมาเอบาชิได้พัฒนาขึ้นมาในฐานะ “เมืองแห่งไหมดิบ” ตั้งแต่ยุคเอโดะ ในช่วงตั้งแต่ปลายยุคเอโดะถึงยุคเมจิที่เริ่มมีการทำการค้ากับต่างประเทศ ไหมดิบและไข่ไหมได้กลายเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของญี่ปุ่น และทำให้มาเอบาชิเจริญรุ่งเรืองมาเป็นแหล่งรวมและกระจายรังไหมและไหมดิบ แต่ในตอนนั้นมาเอบาชิไม่มีอาคารสำหรับรับรองแขกคนสำคัญเลย โมโตฮิโกะ คาโตริ ผู้ว่าราชการจังหวัดกุนมะคนแรกจึงแนะนำให้สร้างเรือนรับรองขึ้นมา จากนั้นบริษัทต่าง ๆ เช่น ธนาคาร ฯลฯ รวมถึงผู้มีอำนาจในมาเอบาชิก็ร่วมกันลงทุนและสร้าง “รินโกกากุ (“อาคารหลัก” ในปัจจุบัน)” จนเสร็จสมบูรณ์ในเดือนกันยายน 1884 ซึ่งต่อมาได้มีจักรพรรดิเมจิและเชื้อพระวงศ์มาพักที่นี่จำนวนมาก และหลังจากนั้น 2 เดือนผู้ว่าฯ โมโตฮิโกะและข้าราชการจังหวัดก็ได้ร่วมทุนกันสร้าง “ห้องน้ำชา” ขึ้นมา มีการสร้าง “อาคารเสริม” ในปี 1910 เพื่อเป็นอาคารรับรองแขกสำหรับงาน “นิทรรศการร่วม 15 จังหวัด” ซึ่งรวบรวมผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นมาจัดแสดงในที่เดียวที่จัดขึ้นในมาเอบาชิ ชื่อ “รินโกกากุ (คฤหาสน์ริมน้ำ)” มาจากการที่สร้างอยู่ติดกับแม่น้ำโทเนะที่เป็นแม่น้ำขนาดใหญ่ ตัวอาคารให้ความสำคัญกับการชมทัศนียภาพอันงดงาม โดยอาศัยตำแหน่งที่สามารถมองเห็นภูเขาอากากิยามะและภูเขาเมียวกิซังที่อยู่ไกลออกไปได้ได้ด้วย รินโกกากุเป็นอาคารโครงสร้างไม้สไตล์ญี่ปุ่นสมัยใหม่ที่สำคัญซึ่งรอดพ้นจากการเสียหายในสงครามโลกครั้งที่สองและยังคงแสดงให้เห็นมาเอบาชิในยุคสมัยใหม่มาถึงปัจจุบัน ตัวอาคารหลัก อาคารเสริม และห้องน้ำชาได้รับการกำหนดให้เป็นทรัพย์สินทางวัฒนธรรมที่สำคัญของประเทศด้วย
-
Information 15: The Long Road of MaebashiResource Center
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย こちらのコーナーでは、前橋市の近代化の始まりから第二次世界大戦の戦災復興までを、貴重な写真や資料とともに紹介しています。前橋繁栄の礎となった県庁の誘致活動や臨江閣建設を支えたのは、生糸産業で得た豊かな経済力と、地域発展のために協力を惜しまない前橋の人たちの熱意でした。群馬県庁舎として利用された再築前橋城本丸御殿の模型や、臨江閣別館が建てられるきっかけとなった「一府十四県連合共進会」の様子など、じっくりとご覧ください。 15: The Long Road of MaebashiResource Center In this corner are precious photographs and resources relating to Maebashi’s history, from the beginning of the city’s modernization to it’s rebuilding after the ravages of World War II. The economic boons of the raw silk industry and the generous and unwavering dedication of the people of Maebashi supported the construction of Rinkokaku and the government’s promotional activities; these, in turn, became the key to Maebashi’s prosperity. Please take a good look at the model of Maebashi Castle’s Honmaru Hall, which was used as the Gunma Prefectural Office, images of the 15-Prefecture Combined Exhibition that was the catalyst for constructing the Rinkokaku annex, and much more. (15)前橋的發展歷程資料館 在這裡,展示了從前橋市近代化之初到昭和時代戰後重建期間的發展歷程及其珍貴的照片等資料。縣政府的引進活動和臨江閣的建設,是基於絲綢產業獲得的豐富經濟實力和前橋市居民對地區發展的熱情合作所支撐的。曾經被用作群馬縣廳舍的前橋城本丸禦殿的模型,臨江閣分館建設之契機——“一府十四縣聯合共進會”的情景等等,歡迎您精心觀賞。 (15)前桥的发展历程 资料馆 在这里,展示了从前桥市近代化之初到昭和时代战后重建期间的发展历程及其珍贵的照片等资料。县政府的引进活动和临江阁的建设,是基于丝绸产业获得的丰富经济实力和前桥市居民对地区发展的热情合作所支撑的。曾经被用作群马县厅舍的前桥城本丸御殿的模型,临江阁分馆建设之契机——“一府十四县联合共进会”的情景等等,欢迎您精心观赏。 (15))마에바시의 발자취 자료관 이 코너에서는, 마에바시시의 근대화의 시작부터 쇼와 시대의 전재 부흥까지를, 귀중한 사진이나 자료와 함께 소개하고 있습니다. 번영의 주춧돌이 된 현청의 유치 활동이나 린코카쿠 건설을 지지한 것은, 생사 산업으로 얻은 풍부한 경제력과 지역 발전을 위해서 협력을 아끼지 않는 마에바시의 사람들의 열의였습니다. 군마현청사로 이용된 마에바시성 혼마루 어전의 모형과 린코카쿠 별관이 세워지는 계기가 된 '1부 14현 연합 공진회'의 모습 등을 찬찬히 살펴보시기 바랍니다. (15) พิพิธภัณฑ์ มาเอบาชิโนะอายูมิ มุมนี้จัดแสดงสิ่งต่าง ๆ และรูปภาพอันล้ำค่าของตั้งแต่ตอนที่เมืองมาเอบาชิเริ่มพัฒนาเป็นยุคสมัยใหม่ มาจนถึงตอนฟื้นฟูเมืองหลังสงครามในยุคโชวะ สิ่งที่ช่วยค้ำจุนการสร้างรินโกกากุและกิจกรรมดึงดูดกลุ่มเป้าหมายของจังหวัดที่เป็นรากฐานของความเจริญรุ่งเรือง ก็คือความสามารถทางเศรษฐกิจอันอุดมสมบูรณ์ที่ได้จากอุตสาหกรรมไหมดิบ และความกระตือรือร้นของชาวเมืองมาเอบาชิที่ไม่ลังเลที่จะให้ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนาท้องถิ่น เชิญมาชมโมเดลจำลองของพระราชวังฮอมมารุของปราสาทมาเอบาชิที่ใช้เป็นที่ทำการจังหวัดกุมมะ รวมถึงบรรยากาศของงาน “นิทรรศการร่วม 15 จังหวัด” ที่เป็นสาเหตุให้สร้างอาคารเสริมของรินโกกากุ ฯลฯ
-
Information 12: Maebashi Castle—A Phantom Castle Ravaged by the Tone River(About Maebashi Castle)
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 臨江閣が建っている場所の南側には、かつて徳川家康に「関東の華」と称された名城・前橋城がありました。徳川家の重臣であった前橋藩の初代藩主・酒井重忠(さかい・しげただ)にはじまる酒井雅楽頭家(さかいうたのかみけ)は、城の大改修を行い、三層の天守閣を備える城郭を完成させ、以降150年間前橋領を治めました。しかし度重なる利根川の氾濫に苦しめられ、酒井家は姫路へと領地を移します。酒井家から前橋城を引き継いだ松平大和守家(まつだいらやまとのかみけ)も火事や洪水に度々見舞われ、やむなく1767(明和4)年、松平家は川越に城を移し、その結果、前橋城は破却されてしまいます。 それから100年の間、前橋には陣屋が置かれ、川越の分領となっていましたが、1862(文久2)年、幕府の改革などにより、松平家は前橋に城を戻すことを決め、町民たちの上納金などにより、前橋城の再築にあたります。 再築された前橋城は、一部に西洋築城の技法を取り入れ、銃や大砲による戦いを想定した近代的な城郭として蘇りましたが、明治維新により、再築からわずか4年で本丸御殿を残して取り壊しが決定され、残った本丸御殿は1928(昭和3)年まで群馬県庁として使用されました。 12: Maebashi Castle—A Phantom Castle Ravaged by the Tone River(About Maebashi Castle) The southern side of where Rinkokaku was built was once home to the famous Maebashi Castle, named the “flower of Kanto” by Tokugawa Ieyasu. The Sakai Clan, which began with Sakai Shigetada who was a vassal of the Tokugawa House, conducted a large-scale renovation of the castle, completing the castle walls by installing a three-level tower, after which the clan governed the Maebashi territory for 150 years. However, plagued by the repeated flooding of the Tone River, the Sakai Clan eventually moved to the Himeji region. The Matsudaira House inherited Maebashi Castle from the Sakai Clan, but were also plagued by repeated fires and floods, leading them to move to Kawagoe in 1767 (Meiwa 4). Because of this, Maebashi Castle was finally demolished. After this, encampments were placed in Maebashi and it became a part of the Kawagoe domain for 100 years. In 1862 (Bunkyu 2), as the shogunate was being reformed, Matsudaira House decided to return to Maebashi, and with donations from local residents, Maebashi Castle was rebuilt. The reconstruction utilized western castle-building methods in some areas to create a more modern castle with gun and cannon combat in mind. However, due to the Meiji Restoration, the castle was demolished once again only 4 years after it had been reconstructed, leaving only the Honmaru Hall intact. This building was used as the Gunma Prefectural Office until 1928 (Showa 3). (12)被利根川玩弄的魔幻名城・前橋城(關於前橋城) 在臨江閣所在地的南側,曾經有一座被德川家康譽為“關東之華”的名城,即前橋城。 由德川家的重要家臣,前橋藩的初代藩主酒井重忠為首的酒井雅楽頭家,進行了大規模的城堡改修,建成了擁有三層天守樓的城郭。 自此之後,酒井家統治了前橋藩150年之久。 然而,由於利根川多次洪水的侵襲,酒井家備受痛苦,最終將領地遷至姫路。 繼承前橋城的松平大和守家也多次遭受火灾和洪水的困擾,不得已於1767(明和4)年將城址遷至川越,結果導致前橋城被拆除。在接下來的100年裏,前橋成為了陣屋的所在地,成為了川越的分領。 然而,在1862年(文久2年),由於幕府的改革等原因,松平家决定將城址遷回前橋。 通過城內居民的上納金等管道,著手重新建造前橋城。重新建造的前橋城在一部分引入了西洋建築技術,考慮到了火器和大炮的戰鬥,以現代化的城郭形式重新崛起。 然而,由於明治維新的影響,僅僅4年後就决定拆除了除了本丸禦殿以外的所有建築。 剩下的本丸禦殿一直被用作群馬縣府直到1928(昭和3)年。 (12)被利根川玩弄的魔幻名城・前桥城(关于前桥城) 在临江阁所在地的南侧,曾经有一座被德川家康誉为“关东之华”的名城,即前桥城。由德川家的重要家臣,前桥藩的初代藩主酒井重忠为首的酒井雅楽头家,进行了大规模的城堡改修,建成了拥有三层天守楼的城郭。自此之后,酒井家统治了前桥藩150年之久。然而,由于利根川多次洪水的侵袭,酒井家备受痛苦,最终将领地迁至姫路。继承前桥城的松平大和守家也多次遭受火灾和洪水的困扰,不得已于1767(明和4)年将城址迁至川越,结果导致前桥城被拆除。 在接下来的100年里,前桥成为了阵屋的所在地,成为了川越的分领。然而,在1862年(文久2年),由于幕府的改革等原因,松平家决定将城址迁回前桥。通过城内居民的上纳金等方式,着手重新建造前桥城。 重新建造的前桥城在一部分引入了西洋建筑技术,考虑到了火器和大炮的战斗,以现代化的城郭形式重新崛起。然而,由于明治维新的影响,仅仅4年后就决定拆除了除了本丸御殿以外的所有建筑。剩下的本丸御殿一直被用作群马县府直到1928(昭和3)年。 (12) 도네가와에게 농락당한 환상의 명성 마에바시성(마에바시 성에 관해서) 린코카쿠가 서 있는 곳의 남쪽에는 과거 도쿠가와 이에야스에게 ‘관동의 꽃'이라 칭했던 명성 마에바시성이 있었습니다. 도쿠가와 가문의 중신이었던 마에바시 번의 초대 번주 사카이 시게타다에서 시작된 사카이 우타노카미케 가문은 성의 대대적인 개수를 실시하여 3층의 천수각을 갖춘 성곽을 완성하고 이후 150년간 마에바시령을 다스렸습니다. 그러나 거듭된 도네가와의 범람에 시달려 사카이 가문은 히메지로 영지를 옮깁니다. 사카이 가문으로부터 마에바시 성을 물려받은 마쓰다이라 야마토 노카미케 가문에도, 화재와 홍수와 같은 재난이 잦아 어쩔 수 없이 1767년 마쓰다이라 가문은 가와고에 성으로 옮겼고, 그 결과 마에바시 성은 파괴되고 맙니다. 그로부터 100년간, 마에바시에는 진야가 설치되어, 가와고에의 분령이 되었지만, 1862(분큐 2)년 막부의 개혁 등으로 마쓰다이라 가문은 마에바시에 성을 되찾기로 결정하고, 마을 주민들의 상납금 등으로 마에바시 성을 재건하는 역할을 하게 되었습니다. 재건축된 마에바시성은 일부 서양 축성 기법을 도입하여 총과 대포에 의한 전투를 상정한 근대적 성곽으로 되살아났으나 이듬해 메이지유신에 의해 재건축된 지 불과 4년 만에 혼마루 고텐을 남기고 헐기로 결정되었고, 남은 혼마루 고텐은 1928년까지 군마현청으로 사용되었습니다. (12) ปราสาทมาเอบาชิ ปราสาทชื่อดังอันงดงามริมแม่น้ำโทเนะ (เกี่ยวกับปราสาทมาเอบาชิ) ฝั่งทิศใต้ของบริเวณที่รินโกกากุตั้งอยู่ เดิมเป็นที่ตั้งของปราสาทมาเอบาชิ ปราสาทชื่อดังที่ อิเอยาซุ โทกูงาวะ ได้เรียกว่า “ดอกไม้แห่งคันโต” ตระกูลซากาอิอูตาโนกามิซึ่งเริ่มตระกูลจาก ชิเกตาดะ ซากาอิ ผู้ครองแคว้นมาเอบาชิคนแรกซึ่งเป็นข้าราชบริพารอาวุโสของตระกูลโทกูงาวะ ได้บูรณะปราสาทครั้งใหญ่และสร้างเป็นปราสาทที่มีหอคอยสามชั้น แล้วปกครองพื้นที่มาเอบาชินับจากนั้นมาอีก 150 ปี แต่จากการประสบภัยน้ำท่วมจากแม่น้ำโทเนะครั้งแล้วครั้งเล่า ตระกูลซากาอิจึงย้ายเขตปกครองไปฮิเมจิแทน ตระกูลมัตสึไดระยามาโตโนกามิที่ได้รับสืบทอดปราสาทมาเอบาชิจากตระกูลซากาอิก็ประสบภัยน้ำท่วมและไฟไหม้หลายครั้ง จนในที่สุดก็ได้ย้ายปราสาทไปยังคาวาโกเอะในปี 1767 ทำให้ปราสาทมาเอบาชิถูกทำลายไป จากนั้นก็มีการตั้งค่ายทหารที่มาเอบาชิและจัดให้เป็นส่วนหนึ่งของคาวาโกเอะเป็นเวลา 100 ปี จนถึงปี 1862 ได้มีการปฏิรูปการปกครอง ฯลฯ ตระกูลมัตสึไดระได้ตัดสินใจที่จะคืนปราสาทให้มาเอบาชิ จึงมีการสร้างปราสาทมาเอบาชิขึ้นใหม่ด้วยเงินบริจาคของชาวเมือง ฯลฯ ปราสาทมาเอบาชิที่สร้างใหม่นี้ได้ใช้วิธีสร้างปราสาทแบบตะวันตกบางส่วน เป็นปราสาทสมัยใหม่ที่คาดการณ์การต่อสู้ด้วยปืนและปืนใหญ่ แต่จากการปฏิรูปเมจิในปีถัดมา ทำให้มีการตัดสินใจทำลายปราสาทหลังสร้างใหม่เพียงแค่ 4 ปีให้เหลือเพียงพระราชวังฮอมมารุเอาไว้ ซึ่งพระราชวังฮอมมารุที่เหลืออยู่นี้ได้ถูกใช้เป็นที่ทำการจังหวัดกุนมะจนถึงปี 1928
-
Information 11: Soan Tea Room and the Simplicity of “Wabi”(Annext, 1F About the Tea Room)
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 離れの茶室は、臨江閣(本館)の建設に際し、前橋市民が惜しみなく支援してくれたことに感激した楫取素彦(かとり・もとひこ)が、県庁職員に寄付を呼びかけ建てたものです。本館より2ヶ月遅れて、1884(明治17)年11月に完成しました。 建築を手がけたのは京都の大工・今井源兵衛(いまい・げんべえ)です。東側に8畳の書院があり、西側に京間4畳半の茶室が設けられています。茶席は亭主の右側に客が着座する本勝手で、下座に床の間をもち、入り口は立ったまま入れる貴人口(きにんぐち)です。「わび」を重んじて造られた草庵茶室は、素朴ながら趣きがあります。 創建当初は茶室に名前はついていませんでしたが、2008(平成20)年の全国都市緑化フェアに際して、楫取素彦の号をとり「畊堂庵(こうどうあん)」と名付けられました。通常時は茶室の内部を見ることができませんが、一般貸し出しされており、茶会等のイベントで利用されています。 11: Soan Tea Room and the Simplicity of “Wabi” (Annext, 1F About the Tea Room) The separated tea room was built in 1884 (Meiji 17), the same year as the main building. Governor Katori Motohiko was so moved by the community’s generous donations, which enabled the construction of Rinkokaku, that he called upon prefectural officials to gather funds for the building of the tea room. It was completed in November 1884, two months after the main building. A carpenter from Kyoto named Imai Genbe designed the tea room. It features a roughly 12-square-meter library on the east side, with a 6-square-meter (4.5 tatami mats according to the Kansai standard of measurement) tea room on the west side. There is a “hon-gatte” space for visitors to sit just to the right of the host, while the toko-no-ma alcove is located in the “shimo-za” (“lower-seat”) position of the room. The entrance to the room is in the kinin-guchi style which allows visitors to enter from a standing position. This souan-style tea room was designed with the simple yet elegant principle of “wabi” in mind. When first built, the tea room had no name, but at the 2008 (Heisei 20) All-Japan Green Fair, the tea room was given the name “Kodoan,” inspired by the alias used by Governor Katori. Although the interior of the tea room cannot be viewed normally, it is available for public rental and is used for tea ceremonies and other events. (11)深得質樸之美的草庵茶室(別館1樓關於茶室) 離遠的茶室是在臨江閣(本館)建造時,感激前橋市民的慷慨支持後,楫取素彥向縣庁職員募捐興建的。 比本館晚了兩個月,於1884年(明治17年)11月竣工。建築師是京都的工匠-今井源兵衛。 東側有8畳的書院,西側設有4.5畳的茶室。 茶席在主人的右側,客人座位的本勝手,下座設有床之間,入口是站著進入的貴人口。 這座注重“質樸之美”的草庵茶室雖樸素,卻充滿韻味。最初並沒有為茶室取名,但在2008年(平成20年)全國都市綠化博覽會期間,以楫取素彥的號為名,被命名為“畊堂庵”。 通常情况下無法看到茶室的內部,但通常對外租借,用於茶會等活動。 (11)深得质朴之美的草庵茶室(别馆1楼 关于茶室) 离远的茶室是在临江阁(本馆)建造时,感激前桥市民的慷慨支持后,楫取素彦向县庁职员募捐兴建的。比本馆晚了两个月,于1884年(明治17年)11月竣工。 建筑师是京都的工匠-今井源兵卫。东侧有8畳的书院,西侧设有4.5畳的茶室。茶席在主人的右侧,客人座位的本胜手,下座设有床之间,入口是站着进入的贵人口。这座注重“质朴之美”的草庵茶室虽朴素,却充满韵味。 最初并没有为茶室取名,但在2008年(平成20年)全国都市绿化博览会期间,以楫取素彦的号为名,被命名为“畊堂庵”。通常情况下无法看到茶室的内部,但通常对外租借,用于茶会等活动。 (11)한적함에 투철한 초암다실(별관1층 다실에 대해서) 별채의 다실은, 린코카쿠(본관)의 건설에 즈음해, 마에바시 시민이 아낌없이 지원해 준 것에 감격한 가토리 모토히코가, 현청 직원에게 기부를 호소해 지은 것입니다. 본관보다 2개월 늦게 1884(메이지 17)년 11월에 완공되었습니다. 건축은 교토의 목수인 이마이 겐베에의 손에서 이루어졌습니다. 동쪽에 8조의 서원이 있고 서쪽에 경간 4조 반의 다실이 마련되어 있습니다. 다실은 주인 오른쪽에 손님이 착석하는 혼갓테로, 아랫자리에 도코마를 두고 입구는 선 채 들어갈 수 있는 귀인구입니다. '한적함'을 중요시하여 만든 초암다실은 소박하지만 멋있습니다. 창건 초기에는 다실에 이름이 붙지 않았지만, 2008(헤이세이 20)년 전국 도시녹화박람회 때, 가토리 모토히코의 호를 따서 '코도안'이라는 이름이 붙여졌습니다. 평상시에는 다실 내부를 볼 수 없지만 일반인 대상으로 대여가 가능하며, 다과회 등의 행사에 이용되고 있습니다. (14) ห้องน้ำชาโซอันที่ทุ่มเทให้กับความเรียบง่ายอันเงียบสงบ (เกี่ยวกับห้องน้ำชา ชั้น 1 อาคารเสริม) โมโตฮิโกะ คาโตริ รู้สึกตื้นตันใจกับการที่ชาวเมืองมาเอบาชิให้การสนับสนุนในการสร้างรินโกกากุ (อาคารหลัก) อย่างเต็มที่ จึงขอให้ข้าราชการจังหวัดช่วยกันบริจาคและสร้างห้องน้ำชาที่ตั้งแยกออกมานี้ขึ้น สร้างเสร็จเมื่อเดือนพฤศจิกายน 1884 หลังอาคารหลัก 2 เดือน ผู้ที่มาช่วยสร้างคือ เก็นเบ อิมาอิ ช่างใหญ่จากเกียวโต ได้เป็นห้องน้ำชาที่มีมุมอ่านหนังสือขนาดประมาณ 13 ตร.ม. ที่ฝั่งตะวันออกและมุมทาทามิแบบเกียวมะขนาดประมาณ 7 ตร.ม. ที่ฝั่งตะวันตก ที่นั่งดื่มชาเป็นแบบฮอนกัตเตะที่ให้แขกนั่งทางขวาของเจ้าบ้าน ที่นั่งฝั่งทางเข้ามีพื้นที่วางของประดับ (โทโกโนะมะ) และทางเข้าเป็นแบบคินินกูจิที่สามารถเดินเข้าได้ ห้องน้ำชาโซอันที่ให้ความสำคัญกับ “ความเรียบง่ายอันเงียบสงบ” แลดูเรียบง่ายแต่มีรสนิยม ช่วงแรกที่สร้างเสร็จห้องน้ำชานี้ยังไม่มีชื่อ แต่ในมหกรรมงานเพิ่มสีเขียวในเมืองทั่วประเทศในปี 2008 ได้มีการตั้งชื่อว่า “โคโดอัน” ตามอีกชื่อหนึ่งของ โมโตฮิโกะ คาโตริ ช่วงเวลาปกติจะไม่สามารถเข้าชมภายในห้องน้ำชาได้ แต่จะให้บุคคลทั่วไปเช่าเหมาได้และใช้จัดอีเว้นท์ต่าง ๆ เช่น งานน้ำชา ฯลฯ
-
The 2nd Floor (Annex) 2nd floor
Click the thumbnail to open the map in a new tab. The 2nd Floor (Annex)
-
The 2nd Floor (Main Building) 2nd floor
Click the thumbnail to open the map in a new tab. The 2nd Floor (Main Building)
-
Rinko-kaku Map (Main Map) Main Map
Click the thumbnail to open the map in a new tab. Rinko-kaku Map (Main Map)
-
Information 2: A Wooden Structure Representing the History and Culture of Maebashi, Gunma’s Capital(Annex, 1F)
日本語 English 繁體中文 简体字 한국어 ภาษาไทย 臨江閣別館は1910(明治43)年、産業振興を目的とした地方博覧会「一府十四県連合共進会」が前橋で開催されるにあたり、来賓をもてなすために建てられた木造2階建ての書院風建築です。 1階2階共に部屋の周囲がぐるりと廊下で取り囲まれており、大河・利根川を臨む南西側は全面がガラス戸で、眺望を楽しめる造りになっています。1階には60畳の板敷の西洋間1室と日本間7室があり、西洋間はダンスや立食パーティーに、日本間は商談や控え室として使われていたと思われます。 1945(昭和20)年8月、第二次世界大戦中の空襲で前橋市街地の約8割が焼失しました。戦火を免れた臨江閣は前橋市役所の仮庁舎として使われ、その後、1981(昭和56)年まで中央公民館としても活用されました。各部屋に掲げられている「洋間」「第一和室」といった室名札や、柱に残る釘の跡はその名残です。貴賓館としてだけでなく、市民にも広く親しまれてきた歴史を伝えるため、2016(平成28)年に行われた改修工事の際にも、そのまま残すことになりました。2018(平成30)年には、本館・別館・茶室の3棟が国の重要文化財に指定されました。 現在は一般への貸し出しも行われており、展覧会や演奏会、シンポジウムなど前橋の文化の拠点として積極的に活用されています。 2: A Wooden Structure Representing the History and Culture of Maebashi, Gunma’s Capital(Annex, 1F) Rinkokaku is a traditional Japanese style wooden structure, and was built in 1910 (Meiji 43) to host important guests who would stay in Maebashi for the “15-Prefecture Combined Exhibition,” a regional exhibition which aimed to promote industry. The first and second floors are both surrounded by an outer hallway, and the all-glass sliding doors along the southwest side of the building offer a stunning view of the great Tone River. The first floor features a western-style room with wood flooring that is over 90 square meters, as well as seven Japanese-style rooms. The western-style room is said to have been used for dances and standing dinner parties, while the Japanese rooms were used for business negotiations and as waiting rooms. In August 1945 (Showa 20), towards the end of World War II, approximately 80% of Maebashi City was burned to the ground in a devastating air raid. Rinkokaku survived the bombing and was used as a temporary city hall in Maebashi. Later, in 1981 (Showa 56), it was also used as a central community center. The room nameplates reading “Western Room” and “Japanese Room 1,” and the nail marks left on pillars are lingering remnants of those times. When renovations were made in 2016 (Heisei 28), the decision was made to leave these intact to convey the history of the building, not only as a state guest house, but also as a community center beloved by the people of Maebashi. In 2018 (Heisei 30), the main building, annex, and tea room were designated as National Important Cultural Properties. The building can now be rented by the public and is a center for culture in Maebashi, often used to host exhibitions, performances, symposiums, and the like. (2)象征着县都-前桥的历史与文化的木造建筑(別館一樓) 臨江閣別館建於1910年(明治43年),是以產業振興為目的所舉辦的地方博覽會“一府十四縣聯合共進會”中,為歡迎來賓而建。 這座木造的雙層建築採用了書院風格。1,2樓的房間被走廊包圍,西南側靠大河・利根川畔的窗戶採用了玻璃落地窗構造,可以俯瞰美景。 1樓有一間60畳的西式房間以及七間日式房間。 據說西式房間用於舞會和立食宴會,日式房間用於商務談判和等候室。1945(昭和20)年8月,前橋市80%的面積燒毀於二戰期間的空襲。 在戰火中倖存下來的臨江閣被用於前橋市政府的臨時政府大樓。 之後直至1981(昭和56)年,被用於中央社區。 每個房間展示的“西式房間”,“第一日式房間”等門牌以及殘留在柱子上的釘子的痕迹都是殘留物。 它不僅只是被作為貴賓館,還為了傳達歷史,在2016(平成28)年的翻新工程中决定保持原樣。 2018(平成30)年,其本館,別館,茶室三棟樓被指定為國家重要文化財產。現時,作為前橋的文化據點,它出租給公眾,用於展覽,音樂會和座談會等。 (2)象征着县都-前桥的历史与文化的木造建筑(别馆一楼) 临江阁别馆建于1910年(明治43年),是以产业振兴为目的所举办的地方博览会“一府十四县联合共进会”中,为欢迎来宾而建。这座木造的双层建筑采用了书院风格。 1,2楼的房间被走廊包围,西南侧靠大河・利根川畔的窗户采用了玻璃落地窗构造,可以俯瞰美景。1楼有一间60畳的西式房间以及七间日式房间。据说西式房间用于舞会和立食宴会,日式房间用于商务谈判和等候室。 1945(昭和20)年8月,前桥市80%的面积烧毁于二战期间的空袭。在战火中幸存下来的临江阁被用于前桥市政府的临时政府大楼。之后直至1981(昭和56)年,被用于中央社区。每个房间展示的“西式房间”,“第一日式房间”等门牌以及残留在柱子上的钉子的痕迹都是残留物。它不仅只是被作为贵宾馆,还为了传达历史,在2016(平成28)年的翻新工程中决定保持原样。2018(平成30)年,其本馆,别馆,茶室三栋楼被指定为国家重要文化财产。 目前,作为前桥的文化据点,它出租给公众,用于展览,音乐会和座谈会等。 (2)현도・마에바시의 역사와 문화를 상징하는 목조건축(별관1층) 린코카쿠 별관은 1910년 산업진흥을 목적으로 한 지방박람회 ‘1부14현 연합공진회'가 마에바시에서 개최되면서 내빈을 접대하기 위해 지어진 목조 2층짜리 서원풍 건축물입니다. 1층 2층 모두 방 주위가 빙글빙글 복도로 둘러싸여 있고, 대하· 도네가와를 마주하는 남서쪽은 전면이 유리문으로 조망을 즐길 수 있는 구조로 되어 있습니다. 1층에는 60조의 마루로 된 서양식 1실과 일본식 7실이 있어, 서양식에는 춤과 입식 파티에, 일본식에는 상담과 대기실로 사용되었던 것으로 보입니다. 1945(쇼와 20)년 8월, 제2차 세계대전 중의 공습으로 마에바시 시가지의 약 80%가 소실되었습니다. 전화를 면한 린코카쿠는 마에바시 시청의 임시 청사로 사용되었고, 그 후 1981(쇼와 56) 년까지 중앙 공민관으로도 활용되었습니다. 각 방에 걸려 있는 ‘양식', ‘제일화식'과 같은 실명찰이나 기둥에 남는 못 자국은 그 흔적입니다. 귀빈관으로서 뿐만 아니라 시민들에게도 널리 사랑받아 온 역사를 전하기 위해 2016(헤이세이28)년에 실시된 개수공사 때에도 그대로 남기게 되었습니다. 2018(헤이세이30)년에는 본관, 별관, 다실 3동이 국가중요문화재로 지정되었습니다. 현재는 대중에게도 대여가 이루어지고 있으며, 전람회나 연주회, 심포지엄 등 마에바시 문화의 거점으로 적극 활용되고 있습니다. (2)สถาปัตยกรรมโครงสร้างไม้ที่เป็นสัญลักษณ์ของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของมาเอบาชิ เมืองหลักของจังหวัด (ชั้น 1 อาคารเสริม) อาคารเสริมของรินโกกากุเป็นสถาปัตยกรรมสไตล์ห้องหนังสือโครงสร้างไม้ 2 ชั้น สำหรับรับแขกใน “นิทรรศการร่วม 15 จังหวัด” ซึ่งเป็นนิทรรศการท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมในปี 1910 ทั้ง 2 ชั้นมีทางเดินล้อมรอบส่วนของห้องต่าง ๆ และฝั่งทิศตะวันตกเฉียงใต้ที่หันไปทางแม่น้ำโทเนะที่เป็นแม่น้ำขนาดใหญ่เป็นประตูกระจกทั้งหมด ให้สามารถเพลิดเพลินกับการชมวิวได้ ชั้น 1 เป็นห้องสไตล์ญี่ปุ่น 7 ห้องและห้องสไตล์ตะวันตก 1 ห้องที่เป็นพื้นไม้ขนาดประมาณ 100 ตร.ม. คาดว่าห้องสไตล์ตะวันตกใช้สำหรับงานเต้นรำและปาร์ตี้แบบยืนรับประทาน และห้องสไตล์ญี่ปุ่นใช้สำหรับเป็นห้องรับรองและการเจรจาธุรกิจ ในเดือนสิงหาคม 1945 ย่านตัวเมืองมาเอบาชิได้ถูกเผาทำลายไปประมาณ 80% จากการโจมตีทางอากาศในสงครามโลกครั้งที่สอง รินโกกากุซึ่งรอดพ้นจากการโจมตีครั้งนั้นได้ถูกนำมาใช้เป็นอาคารที่ทำการเมืองมาเอบาชิชั่วคราว จากนั้นก็ใช้เป็นหอชุมชนกลางมาจนถึงปี 1981 ปัจจุบันยังคงมีป้ายชื่อห้องต่าง ๆ เช่น “ห้องตะวันตก” “ห้องญี่ปุ่นที่ 1” ฯลฯ และรอยตะปูที่เสาเหลืออยู่ เนื่องจากเป็นสิ่งที่สื่อให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ที่นอกจากจะเป็นเรือนรับรองแล้วยังเคยเปิดให้ชาวเมืองมาใช้งานได้อย่างใกล้ชิดด้วย ในการบูรณะในปี 2016 จึงมีการตัดสินใจที่จะเก็บเอาไว้เช่นนั้น ต่อมาในปี 2018 อาคารหลัก อาคารเสริม และห้องน้ำชาก็ได้รับการกำหนดให้เป็นทรัพย์สินทางวัฒนธรรมที่สำคัญของประเทศ ปัจจุบันมีเปิดให้ประชาชนทั่วไปสามารถเช่าเหมาได้ด้วย มีการใช้เป็นฐานวัฒนธรรมของมาเอบาชิ เช่น การจัดนิทรรศการ การแสดง การประชุมสัมมนา ฯลฯ อย่างจริงจัง